วันอาทิตย์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

Chapter 5 e-Marketing


 E-marketing : Achieving marketing objectives through use of electronic communications technology.


 E-Marketingย่อมาจากคาว่าElectronic Marketingหรือเรียกว่า“การตลาดอิเล็กทรอนิกส์”หมายถึงการดาเนินกิจกรรมทางการตลาดโดยใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ที่ทันสมัยและสะดวกต่อการใช้งาน เข้ามาเป็นสื่อกลาง ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ หรือพีดีเอ ที่ถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกันด้วยอินเทอร์เน็ต มาผสมผสานกับวิธีการทางการตลาด การดาเนินกิจกรรมทางการตลาด อย่างลงตัวกับลูกค้าหรือกลุ่มเป้าหมาย เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายขององค์กรอย่างแท้จริง


คุณลักษณะเฉพาะของe-Marketing
เป็นการสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมายในลักษณะเฉพาะเจาะจง(NicheMarket)
เป็นลักษณะเป็นการสื่อสารแบบ2ทาง(2WayCommunication)
เป็นรูปแบบการตลาดแบบตัวต่อตัว(OnetoOneMarketingหรือPersonalizeMarketing)ที่ลูกค้าหรือกลุ่มเป้าหมายสามารถกาหนดรูปแบบสินค้าและบริการได้ตามความต้องการของตนเอง
มีการกระจายไปยังกลุ่มผู้บริโภค(DispersionofConsumer)
เป็นกิจกรรมที่นักการตลาดสามารถสื่อสารไปยังทั่วทุกมุมโลกตลอด24ชั่วโมง(24BusinessHours)
สามารถติดต่อสื่อสารโต้ตอบปฏิสัมพันธ์ได้อย่างรวดเร็ว(QuickResponse)
มีต้นทุนต่าแต่ได้ประสิทธิผลสามารถวัดผลได้ทันที(LowCostandEfficiency)
มีความสัมพันธ์กับกิจกรรมการตลาดแบบดั้งเดิม(RelatetoTraditionalMarketing)
มีการตัดสินใจในการซื้อจากข้อมูลข่าวสารที่ได้รับ(PurchasebyInformation)

E-Marketing เป็นส่วนผสมแนวความคิดทางการตลาดและทางเทคนิครวมเข้าไว้ด้วยกันทั้งด้านการออกแบบ(Design),การพัฒนา(Development),การโฆษณาและการขาย(AdvertisingandSales)เป็นต้น(ตัวอย่างกิจกรรมได้แก่SearchEngineMarketing,E-mailMarketing,AffiliateMarketing,ViralMarketingฯลฯ)โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ธุรกิจและลูกค้าเนื่องจากระบบทางอิเล็กทรอนิกส์สามารถสนับสนุนการร้องขอข้อมูลของลูกค้าการจัดเก็บประวัติและพฤติกรรมของลูกค้าเอาไว้รวมถึงการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าได้ส่งผลต่อการเพิ่มและรักษาฐานลูกค้า(CustomerAcquisitionandRetention)และอานวยประโยชน์ในการประกอบธุรกิจอย่างครบถ้วน

ความแตกต่างกันระหว่าง e-Marketing, e-Business และ e-Commerce
- E-Marketingคือรูปแบบการทาการตลาดในรูปแบบหนึ่งโดยใช้เครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์เครื่องมือดิจิตอลเข้ามาช่วยในการทาการตลาดแต่ในความหมายสาหรับE-BusinessหรือElectronicBusinessนั้นจะมีความหมายที่ใกล้เคียงกับคาว่าE-CommerceหรือElectronicCommerceมากกว่าเพียงแต่ว่าความหมายของE-Businessจะมีขอบเขตที่กว้างกว่าโดยหมายถึงการทากิจกรรมในทุกๆขั้นตอนของกระบวนการธุรกิจผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือเรียกว่า“ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์”ทั้งการทาการค้าการซื้อการขายการติดต่อประสานงานงานธุรการต่างๆที่เกิดขึ้นภายในสานักงานและการทาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งเป็นกระบวนการในการดาเนินการทางธุรกิจที่อาศัยระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์มาใช้ในการดาเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางธุรกิจโดยมีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม(AddedValue)ตลอดกิจกรรมทางธุรกิจ(ValueChain)และลดขั้นตอนของการที่ต้องอาศัยแรงงานคน(ManualProcess)มาใช้แรงงานจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์(ComputerizedProcess)แทนรวมถึงช่วยให้การดาเนินงานภายในภายนอกมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและยังเป็นการสร้างความพึงพอใจให้ลูกค้ามากขึ้นอีกด้วยตัวอย่างเช่นการควบคุมสต๊อคและการชาระเงินให้เป็นระบบอัตโนมัติดาเนินการได้รวดเร็วและทาได้ง่ายลักษณะการนาE-Businessมาประยุกต์ใช้กับธุรกิจได้แก่

ลักษณะการนา E-Business มาประยุกต์ใช้กับธุรกิจได้แก่
*การเชื่อมต่อระหว่างกันภายในองค์กร (Intranet)
*การเชื่อมต่อระหว่างกันกับภายนอกองค์กร (Extranet)
*การเชื่อมต่อระหว่างกันกับลูกค้าทั่วโลก (Internet)

ประโยชน์ของ e-Marketing
นักการตลาดชื่อSmithandChaffeyได้กล่าวถึงประโยชน์จากการนาเอาเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตมาช่วยสนับสนุนการทาการตลาดและก่อให้เกิดผลสาเร็จตามเป้าหมายโดยมองว่าE-Marketingเป็นกระบวนการในการจัดการทางการตลาดโดยมีการเน้นย้าถึงการให้ความสาคัญแก่ลูกค้าเป็นหลักในขณะที่แสดงถึงการเชื่อมโยงการทางานทางธุรกิจในอันที่จะช่วยสร้างความสาเร็จในผลกาไรให้กับธุรกิจซึ่งสามารถแบ่งกระบวนการในการจัดการทางการตลาดได้ดังนี้

กระบวนการในการจัดการทางการตลาดของ e-Marketing
การจาแนกแยกแยะ(Identifying)สามารถทาการจาแนกแยกแยะได้ว่าลูกค้าเป็นใครมีความต้องการอย่างไรอยู่ที่ไหนและมีพฤติกรรมในการเลือกซื้อสินค้าอย่างไรโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย
การทานายความคาดหวังของลูกค้า(Anticipating)เนื่องจากความสามารถของอินเทอร์เน็ตนั้นช่วยเพิ่มช่องทางให้ลูกค้าสามารถเข้าถึงข้อมูลและสามารถซื้อสินค้าได้สะดวกยิ่งขึ้นโดยการเข้าใจถึงความต้องการของลูกค้าถือเป็นหัวใจสาคัญในการทาE-Marketingตัวอย่างเช่นเว็บไซต์สายการบินต้นทุนต่าeasyJet(http://www.easyjet.com)มีส่วนสนับสนุนทาให้มีรายได้จากการผ่านออนไลน์กว่า90%
สนองความพอใจของลูกค้า(Satisfying)ถือเป็นความสาเร็จในการทาE-Marketingในการสร้างความพอใจให้แก่ลูกค้าผ่านช่องทางออนไลน์การเพิ่มขึ้นของลูกค้านั้นอาจจะมาจากการใช้งานง่ายการสนับสนุนการให้บริการแก่ลูกค้าเป็นต้น


ประโยชน์ของการนา e-Marketing มาใช้ 5Ss’
นอกจากนี้SmithandChaffeyยังได้กล่าวถึง5Ss’ซึ่งเป็นประโยชน์ที่ได้รับจากการนาเอากลยุทธ์การตลาดออนไลน์มาใช้ได้แก่
การขาย(Sell)ช่วยทาให้ยอดขายเพิ่มขึ้นจากการทาการตลาดออนไลน์ซึ่งจะเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ทาให้ลูกค้ารู้จักและเกิดความทรงจา(AcquisitionandRetentiontools)ในสินค้าบริการเราเพิ่มมากขึ้นซึ่งนาไปสู่การขายที่เพิ่มขึ้นอีกด้วย
การบริการ(Serve)การสร้างประโยชน์ที่เพิ่มขึ้นให้แก่ลูกค้าจากการใช้บริการผ่านออนไลน์ไม่ว่าจะเป็นการให้สิทธิพิเศษต่างๆเป็นต้น)
การพูดคุย(Speak)การสร้างความใกล้ชิดกับลูกค้ามากยิ่งขึ้นโดยสามารถสร้างแบบสนทนาการโต้ตอบกันได้ระหว่างกันได้(Dialogue)ทาให้ลูกค้าสามารถเข้ามาสอบถามตลอดจนสามารถสารวจความคิดเห็นความต้องการของลูกค้าลูกค้ามีความสนใจในเรื่องใดเป็นพิเศษ
ประหยัด(Save)การสร้างความประหยัดเพิ่มขึ้นจากงบประมาณการพิมพ์กระดาษโดยสามารถใช้วิธีการส่งจดหมายข่าวE-Newsletterไปยังลูกค้าแทนการส่งจดหมายแบบดั้งเดิม
การประกาศ(Sizzle)การประกาศสัญลักษณ์ตราสินค้าผ่านออนไลน์ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างสินค้าของเราให้เป็นที่รู้จักมีความคุ้นเคยมากยิ่งขึ้น


หลักการของ e-Marketing
การตลาดยุคEเน้นการใช้MassCustomizationมากกว่าMassMarketingเพราะลูกค้าทุกคนมีสิทธิ์เลือกเว็บไซต์ต่างๆทั่วโลกเพื่อหาสินค้าที่ตนเองต้องการเพราะฉะนั้นเราต้องเน้นระบบที่สนองตอบความต้องการของลูกค้าแต่ละคนเป็นหลักทั้งนี้เราจักต้องสร้างระบบโปรแกรมอัตโนมัติขึ้นมาตอบสนองความต้องการดังกล่าวโดยให้แต่ละคนสามารถเลือกทางเลือกที่สนองความต้องการได้ด้วยตนเอง
การแบ่งส่วนตลาดต้องเป็นแบบMicroSegmentationหรือOne-to-OneSegmentationหมายถึงหนึ่งส่วนตลาดคือลูกค้าหนึ่งคนเพราะในตลาดบนเว็บถือว่าลูกค้าเป็นใหญ่เนื่องจากมีสิทธิ์ที่เลือกซื้อสินค้าใครก็ได้ยกเว้นแต่เราเป็นเพียงรายเดียวที่มีอยู่ในตลาดฉะนั้นการพิจารณาข้อมูลความต้องการหรือพฤติกรรมของลูกค้าทุกคนโดยอาศัยระบบฐานข้อมูลที่ตรวจจับพฤติกรรมของลูกค้าแต่ละรายได้ถือเป็นปัจจัยแห่งความสาเร็จที่สาคัญมากหรือในแง่ของการจัดการแล้วเราเรียกว่าCRMหรือCustomerRelationshipManagementนั่นเองเพราะนี่จะทาให้เราทราบว่าใครคือลูกค้าประจา
การวางตาแหน่งสินค้า(Positioning)ต้องเป็นไปตามความต้องการแต่ละบุคคลหรือMigrationingการวางตาแหน่งสินค้าเพื่อให้ลูกค้ารับรู้นั้นต้องวางตามความต้องการของแต่ละบุคคลและหากความต้องการนั้นเปลี่ยนไประบบก็ต้องเคลื่อนตาแหน่งของการวางนั้นไปสนองตอบต่อความต้องการใหม่ด้วย
ให้เราเป็นหนึ่งในเว็บที่ลูกค้าจาได้การสร้างความจดจาเพื่อให้จาเว็บไซต์เราการจดชื่อโดเมนที่ทาให้จดจาง่ายหรือมีความหมายที่สอดคล้องกับเนื้อหาของเว็บไซต์จึงเป็นสิ่งที่จาเป็นมาก
ต้องรู้ความต้องการลูกค้าล่วงหน้าจาเป็นจักต้องติดตามพฤติกรรมการซื้อของกลุ่มเป้าหมายโดยตลอด
ต้องรู้ความต้องการลูกค้าล่วงหน้าจาเป็นจักต้องติดตามพฤติกรรมการซื้อของกลุ่มเป้าหมายโดยตลอด
ต้องปรับที่ตัวสินค้าและราคาเป็นหลักสินค้าถือเป็นหัวใจที่สาคัญที่สุดจาเป็นอย่างยิ่งที่จักต้องเทียบกับคุณค่าของสินค้าและคู่แข่งเสมอว่าใครสนองตอบต่อความต้องการได้ดีกว่ากัน
ต้องให้ลูกค้าตกแต่งสินค้าตามความต้องการได้โดยอัตโนมัติ(Customization&Personalization)วิธีที่ให้ลูกค้าได้รับคุณค่าหรือสนองความต้องการได้ดีที่สุดก็คือการให้ลูกค้าได้เลือกหรือตกแต่งสินค้าเองรวมทั้งการคานวณราคาด้วยฉะนั้นการให้Optionsให้ลูกค้าได้เลือกมากที่สุดจึงเป็นสิ่งที่สาคัญมาก


ส่วนผสมทางการตลาดอิเล็กทรอนิกส์
ผลิตภัณฑ์(Product)
ราคา(Price)
สถานที่(Place)
การส่งเสริมการขาย(Promotion)
เครือข่ายสังคม(SocialNetwork)
การขายบนเว็บไซต์
การบริการลูกค้า
ระบบป้องกันความปลอดภัย
ระบบฐานข้อมูลลูกค้าเพื่อนามาใช้ในการบริการ(PersonalizationService)

e-Marketing Planning

the SOSTAC™ framework developed by Paul Smith (1999) ซึ่งสามารถสรุปขั้นตอนที่เกี่ยวข้องได้ 6ขั้นตอนด้วยกัน คือ
Situation –where are we now?
Objectives –where do we want to be?
Strategy –how do we get there?
Tactics –how exactly do we get there?
Action –what is our plan?
Control –did we get there?







7 ขั้นตอนสาหรับการทา e-Marketing
*ขั้น1กาหนดวัตถุประสงค์(SetObjective)
การจัดทาเว็บไซต์ต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของธุรกิจ


*เพื่อสร้างยอดขาย(SalesandAcquisition)
การนาe-Marketingมาใช้เพื่อให้เกิดผลกระทบในการเพิ่มยอดขายโดยตรงกับธุรกิจทั้งในระยะสั้นและระยะยาวเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นขณะตัดสินใจซื้อ

*เพื่อสร้างภาพลักษณ์(Image)
ลักษณะภาพลักษณ์ที่ดีมีดังนี้
I.สร้างขึ้นมาให้ดูง่ายจดจาง่าย
II.ดูมีความน่าเชื่อถือก่อให้เกิดความประทับใจ
III.เป็นรูปธรรมและมองเห็นได้อย่างชัดเจน
IV.อยู่ระหว่างความคาดหวังและความเป็นจริงควรเป็นไปในเชิงบวก
V.เป็นสินทรัพย์ของธุรกิจ

*ให้บริการและเพื่อสนับสนุนการขาย(ServiceandSupport)
เป็นช่องทางสาหรับบริการหลังการขายแก่ลูกค้าเน้นในด้านการให้บริการภายในเว็บไซต์โดยสร้างการติดต่อสื่อสารขึ้นระหว่างกันเช่นการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายหรือการติดต่อระหว่างผู้ซื้อกับผู้ซื้อด้วยกันเอง

*การสร้างตราสินค้าให้เป็นที่รู้จัก(BrandAwareness)
โดยการทาการส่งข้อความด้วยเครื่องมือทางการตลาดออนไลน์ใดๆถึงกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้เกิดการรับรู้(Awareness)ทาให้ลูกค้าจดจาได้(Recognition)และระลึกถึงเป็นชื่อแรก(Recall)เมื่อต้องการจะซื้อสินค้า

*การรักษาฐานลูกค้าปัจจุบัน(CustomerRetention)
เป็นความพยายามในการสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าซึ่งยังผลให้ธุรกิจสามารถสร้างผลกาไรได้อย่างต่อเนื่องด้วยการรักษาความพอใจให้คงอยู่ซึ่งกระบวนการนี้มีความเกี่ยวเนื่องกับการบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า(CustomerRelationManagement:CRM)

*การสร้างความจงรักภักดีในตราสินค้า(BrandRoyalty)
คือการที่ลูกค้ารักและเกิดความศรัทธาในตราสินค้าของธุรกิจและยากที่จะทาให้ลูกค้าเกิดการเปลี่ยนใจที่จะไปซื้อสินค้าอื่นแทน

ขั้น 2 การกาหนดกลุ่มเป้าหมายด้วยวิธี 5W+1H
Who(ใคร)ลูกค้าคือใครมีอายุประมาณเท่าไรเพศอะไรระดับการศึกษาเป็นอย่างไรระดับรายได้หรือฐานเงินเดือนอยู่ที่เท่าใดประกอบอาชีพอะไรรสนิยมส่วนตัวเป็นอย่างไรฯลฯข้อมูลเหล่านี้ช่วยให้สามารถระบุกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจนเพื่อวางแผนการตลาดหรือสร้างสินค้าหรือบริการที่ตอบสนองต่อพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายได้ถูกต้อง
What(อะไร)อะไรคือสิ่งที่ลูกค้าต้องการเพื่อทราบอุปสงค์(demand)และความปรารถนาภายในใจ(willing)ของลูกค้าว่าสินค้าหรือบริการรูปแบบไหนที่ลูกค้าต้องการและอะไรที่จะสร้างความแตกต่างให้กับสินค้าหรือบริการจากคู่แข่งขันได้
Where(ที่ไหน)ลูกค้าอยู่ที่ไหนเป็นคาถามเชิงภูมิศาสตร์เพื่อทราบถึงสภาพแวดล้อมวัฒนธรรมภาษาและเชื้อชาติของกลุ่มเป้าหมายว่าเป็นเช่นไรเพื่อให้ทราบว่าจะหาลูกค้าได้จากไหนบ้างและที่ไหนคือที่ๆลูกค้ามักจะไปอยู่และสามารถสื่อสารกับลูกค้าได้ด้วยวิธีอะไร
When(เมื่อไร)เมื่อไรที่ลูกค้าต้องการเราเราควรทราบถึงความต้องการว่าในช่วงเวลาไหนที่ลูกค้าต้องการซื้อหรือใช้บริการและต้องการบ่อยเพียงใดซึ่งจะช่วยให้เรากาหนดและวางแผนการพยากรณ์ต่างๆให้ตรงกับความต้องการของลูกค้าได้อย่างถูกต้อง
Why(ทาไม)ทาไมลูกค้าต้องมาที่เราเป็นคาถามเชิงเหตุผลว่าเหตุใดลูกค้าถึงได้เข้ามาซื้อสินค้าจากเราอาจเป็นเงื่อนไขในเรื่องของราคาที่ถูกกว่าคู่แข่งหรือสินค้ามีคุณภาพมากกว่าความสะดวกสบายบริการหลังการขายที่ดีกว่า
How(อย่างไร)เราสามารถเข้าถึงลูกค้าได้อย่างไรเป็นคาถามเชิงวิธีการหรือหนทางในการรักษาฐานลูกค้าเก่าหรือเพิ่มยอดขายจากลูกค้ารายใหม่ซึ่งควรจะมีการวางแผนและกาหนดวิธีการที่จะเข้าถึงลูกค้าได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพมากที่สุด

ขั้น 3 วางแผนงบประมาณ มีเงินเท่าไร จะใช้เท่าไร
เป็นการประเมินถึงจานวนเงินเพื่อใช้ในการทางานว่ามีเท่าใดซึ่งถือเป็นค่าใช้จ่ายทางบัญชีที่เจ้าของธุรกิจต้องทราบว่าจะดาเนินธุรกิจให้ได้ตามแผนต้องใช้เงินลงทุนแต่ละส่วนเป็นเงินเท่าใดและได้มาจากแหล่งใดหลักในการทางบฯมีด้วยกันหลายวิธีเช่น
#ทางบประมาณตามสัดส่วนจากการขาย
#ทางบประมาณตามสภาพตลาด
#ทางบประมาณตามวัตถุประสงค์
#ทางบประมาณตามเงินทุน

ขั้น 4กาหนดแนวความคิดและรูปแบบ หาจุดขาย ลูกเล่น
เป็นการสร้างแนวความคิดที่แปลกใหม่น่าสนใจให้กับเว็บไซต์โดยเป็นการสร้างจุดเด่นหรือจุดที่แตกต่างกับเว็บอื่นๆทาให้เกิดเอกลักษณ์ของเว็บไซต์เราซึ่งเป็นปัจจัยที่ทาให้ผู้เยี่ยมชมจดจาเว็บไซต์ได้อาจจะเป็นรูปแบบการบริการที่ไม่เหมือนใครการใช้ลักษณะการออกแบบเว็บที่โดดเด่นหรือเนื้อหาในเว็บทาให้ผู้อ่านสนใจแต่ทั้งนี้ทั้งนั้นต้องยืนอยู่บนเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่เราตั้งใจไว้เป็นสาคัญ

ขั้น 5 การวางแผนกลยุทธ์ และสื่อ ช่วงเวลา
เป็นการเลือกสรรวิธีหรือกลยุทธ์ที่ใช้สาหรับการทาการตลาดออนไลน์ว่าควรเลือกใช้สื่อรูปแบบใดดีโดยดูที่วัตถุประสงค์เป็นหลักเช่นการโฆษณาผ่านหน้าเว็บในรูปแบบต่างๆ,การตลาดผ่านระบบค้นหา,การตลาดผ่านอีเมล์,การตลาดผ่านเว็บบล็อก

ขั้น 6 การดาเนินการตามแผนที่ได้วางไว้
เทคนิคการเตรียมตัวก่อนการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ดังนี้
I.เช็คว่าพร้อมหรือยัง?ด้วยกลยุทธ์6C
II.มีเอกลักษณ์หรือจุดเด่นของเว็บไซต์เช่นแนวความคิดพื้นฐานของตัวเว็บไซต์ที่โดดเด่นมีความสอดคล้องกับตราสินค้าหรือบริการหลักของธุรกิจการออกแบบเว็บไซต์เช่นสีสันโลโก้การวางรูปแบบและเนื้อหามีความเป็นเอกลักษณ์
III.การสร้างช่องทางการเก็บข้อมูลผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์เช่นการลงทะเบียนสมาชิกแบบสอบถามออนไลน์บริการการรับข่าวสารทางอีเมล์เป็นต้น

ขั้น 7 วัดผลและประเมินผลลัพธ์
เป็นวิธีการวัดผลความสาเร็จจากการทาแผนการตลาดว่ามีผลลัพธ์เช่นไรการดาเนินการทางการตลาดประสบความสาเร็จตามที่กาหนดมากน้อยเพียงใดโดยประเมินจากการเติบโตของยอดขายส่วนแบ่งทางการตลาดภาพลักษณ์ที่ลูกค้ามีต่อสินค้าหรือบริการกาไรฯลฯเพื่อเป็นข้อมูลสาคัญในการตัดสินใจการดาเนินตามแผนธุรกิจต่อไป

C ontent(ข้อมูล)

ข้อมูลใหม่สดเสมอ
ข้อมูลมีความถูกต้อง
อ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูล
รูปแบบของการหาข้อมูลมาไว้ในเว็บไซต์มี 3 รูปแบบใหญ่ๆ ได้แก่
ทางผู้จัดทาเว็บไซต์เป็นคนผลิตข้อมูลขึ้นมา (Self Feeding)
ข้อมูลมากจากผู้เข้ามาใช้บริการ (User Feeding)
ข้อมูลมากจากพันธมิตร (Partner Content)

C ommunity(ชุมชน,สังคม)
Community คือ การรวมตัวของกลุ่มคนจานวนหนึ่ง ที่อยู่ร่วมกันภายใต้สถานๆ หนึ่ง โดยมการพูดคุย หรือกิจกรรมร่วมกันภายในสถานที่แห่งนั้น
องค์ประกอบในการสร้าง Community ในเว็บไซต์ของคุณ
1.เว็บบอร์ด (WebBoard)
2. พิ๊กโพสต์(Pic Post)
3. ไดอารี่ หรือ บล็อก (Diary or Blog)
4. ข่าว (News) + Web Board
5. รวมลิงค์ เว็บไซต์
6. ห้องแช๊ตรูม(ChatRoom)

C ommerce(การค้าขาย)
การหาสินค้ามาขายผ่านหน้าเว็บ
การซื้อสินค้ามาเก็บไว้
การนาสินค้าจากแคตตาล๊อกมาขาย (จับเสือมือเปล่า)
การนาสินค้าจากพันธมิตรมาขายwww.thaisecondhand.com/promotion
Commerce หรือ การทาการค้าขายผ่านเว็บไซต์ ซึ่งสามารถสร้างรายได้ให้กับเว็บไซต์ได้ เช่นเว็บข้อมูล (Content), เว็บโปรแกรมมิ่ง, เว็บ Community, หรือเว็บโป๊ก็สามารถทา E-Commerce


C ustomization(การปรับให้เหมาะสม)
C -Customizationคือ รูปแบบการให้บริการที่สามารถปรับแต่งการใช้งานให้มีความเหมาะสมกับ ผู้ใช้บริการภาย ในเว็บไซต์
•การปรับแต่งข้อมูลเพื่อการบริการ (Service)http://my.MSN.com
•การปรับแต่งสินค้าเพื่อการค้า (Commerce)www.Nike.com
•การเก็บข้อมูลของลูกค้าเพื่อการนาเสนอข้อมูล (Information) www.Amazon.com

C ommunication, Channel (การสื่อสารและช่องทาง)
Communication คือ ช่องทางในการสื่อสารและติดต่อกับผู้ใช้บริการในเว็บไซต์ของคุณ จริงๆ แล้วสิ่งที่คุณมีอยู่ในเว็บไซต์คุณคือ ข้อมูล (Content) หรือ บริการ (Service) ซึ่งเป็นเพียงแค่ “ช่องทาง” ในการ “เข้าถึง” ข้อมูลหรือบริการเหล่านั้น

C onvenience(สะดวกสบาย)
การใช้งานง่าย (Usability)1."ดู" ง่าย
•การวางรูปแบบ (Layout)
•รูปภาพ และไอค่อน ( Image & Icon)
•ขนาดตัวอักษร (Font) และการจัดหน้า
•การออกแบบระบบนาทางที่ดี (Navigation)
•มีSite map ในเว็บ
2."เรียนรู้" ได้ง่าย (easy to learn)
3. "จดจา" วิธีการใช้งานได้ง่าย
4."เข้าถึง" ได้ง่าย
5.ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ (efficient to use)
6.การเจอปัญหาและการแก้ไข (Help & FAQ)













ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น