วันอาทิตย์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

บทที่ 9 E-Government

บทที่ 9 E-Government

ประวัติความเป็นมา

 การก้าวไปสู่ e-government จะทำให้เกิดการเปลี􀀫ยนแปลงในกระบวนการทำงาน และการให้บริการของภาครัฐเพื่อให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น กว่าเดิม จะเห็นได้ว่าประเทศต่างๆทั่ว โลกต่างก็ให้ความสำคัญกับการก้าวไปสู่การเป็น
e-government แ ล ะ มี ก า ร ป ร ะ ก า ศ น โ ย บ า ย ใ น เ รื่อ ง นี้อ ย่ า ง เ ป็ น ท า ง ก า ร ตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น สหราชอาณาจักร ประกาศว่าภายในปี ค.ศ. 2005 ประชากรทุกคนสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ ไม่ว่าจะเข้าจากทื่บ้าน หรือจุดให้บริการในชุมชน ก็ตาม รวมทั้งการบริการของภาครัฐทุกอย่างจะทำผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในขณะที่สิงคโปร์เองก็ประกาศว่าภายในปี ค.ศ. 2001 counter services ของรัฐ 100% จะเป็นการให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ ออสเตรเลียระบุว่ารัฐจะให้บริการที่เหมาะสมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ อันหมายถึงผ่านทางอินเทอร์เน็ตภายในปี ค.ศ. 2001 ส่วนแคนาดามีเป้าหมายว่าบริการของรัฐทุกอย่างจะเป็นแบบ online ภายในปี ค.ศ.2004 โดยมีบริการหลักบางอย่างสามารถให้บริการได้ก่อนในปี ค.ศ. 2000 สำหรับเนเธอร์แลนด์มีเป้าหมายว่า 20%ของบริการของรัฐสามารถให้ online ได้ในปี ค.ศ. 2002 สหรัฐอเมริกาซึ่งถือเป็นผู้นำด้านเทคโนโลยีเองก็กำหนดเป้าหมายไว้ว่าจะให้บริการต่างๆ และบริการด้านข้อมูลของภาครัฐผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ภายในปี ค.ศ. 2003 แต่
ประเทศซึ่งอาจเป็นแชมป์ e-government เร็วที่สุด เนื่องจากกำหนดไว้ว่าในช่วงสิ้นปี ค.ศ. 2000 นี้ประชาชนจะสามารถเข้าถึงบริการและเอกสารของรัฐได้ทางอิเล็กทรอนิกส์ คือ ประเทศฝรั่งเศส

สำหรับประเทศไทย ในเรื่องการบริหารและการบริการของรัฐแก่ประชาชน มีการกล่าวถึง ตั้งแต่ในกฎหมายสูงสุดของประเทศ คือ รัฐธรรมนูญฯ ในมาตรา 78 หรือแผนสภาพัฒน์ฯ ฉบับที่8 ที่กล่าวถึงการนำไอทีมาใช้เพื่อเชื่อมโยง ระหว่างหน่วยงานของรัฐกับภาคเอกชน เพื่อการบริหารและการบริการที่มีประสิทธิภาพนอกจากนี้ในแผนไอทีแห่งชาติเองก็ระบุว่าหน่วยงานของรัฐต้องลงทุนให้พร้อม
ด้วยไอที และบุคลากรที่มีศักยภาพในการใช้ไอที ในแผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐก็ได้กำหนดกิจกรรมหนึ่งที่ทุกส่วนราชการต้องดำเนินการไว้ในแผนหลักเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกิจและวิธีการบริหารของภาครัฐว่า การพัฒนาให้มีระบบสารสนเทศของหน่วยงานกลางในภาครัฐ ตลอดจนนำเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เหมาะสมมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานภาครัฐและการให้บริการแก่ประชาชน จะเห็นว่าในระดับนโยบายนั้นมีการให้ความสำคัญในเรื่อง
นี้มาโดยตลอด


ความหมาย e-government
*e-government หรือรัฐอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วยหลักการที􀀫เป็น
แนวทาง 4 ประการคือ
1.สร้างบริการตามความต้องการของประชาชน
2.ทำให้รัฐและการบริการของรัฐเข้าถึงได้มากขึ้น
3.เกิดประโยชน์แก่สังคมโดยทั่วกัน
4.มีการใช้สารสนเทศที่ดีกว่าเดิม


* e-government คือ วิธีการบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ที่เน้นการใช้เทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเครือข่ายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของผลงานของภาครัฐ และปรับปรุงการบริการแก่ประชาชน และการบริการด้านข้อมูลเพื่อเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และทำให้ประชาชนมีส่วนร่วมกับรัฐมากขึ้น โดยการใช้เทคโนโลยีจะนำมาใช้เพื่อเพิ่มศักยภาพของการเข้าถึง และการให้บริการของรัฐโดยมุ่งเป้าไปที่กลุ่มคน 3 กลุ่ม คือ ประชาชน ภาคธุรกิจและข้าราชการเอง ผลพลอยได้ที่สำคัญที่เราจะได้รับคือความโปร่งใสที่ดีขึ้นอันเนื่องมากจากการเปิ ดเผยข้อมูลที่หวังว่าจะนำไปสู่การลดคอรัปชั่น หากเทียบกับ e-commerce แล้ว egovernmentคือ G-to-G1 Transaction และมีลักษณะเป็น intranet มีระบบความปลอดภัย เพื่อทำให้เกิดการแลกเปลี􀀫ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างหน่วยงาน
ของรัฐ ในขณะที่ e-services เทียบได้กับ B-to-G2 และ G-to-C3 Transaction ใช้
อินเทอร์เน็ตเป็นสื่อในการให้บริการ โดยภาคธุรกิจกับประชาชนคือผู้รับบริการ


e-government กับ e-services มีความเกี่ยวพันกันมาก กล่าวได้ว่า e-government เป็นพื้นฐาน ของ
e-services เพราะการให้บริการของรัฐต่อประชาชนนั้น มีความจำเป็นที่จะต้องมีเครือข่ายภายใน
ระหว่างหน่วยงานของรัฐด้วยกันเองที่มีความปลอดภัย และทำให้องค์กรสามารถแลกเปลี่ยน
สารสนเทศกันได้ การพัฒนาระบบสารสนเทศและการพัฒนาทักษะ รวมทั้งองค์ความรู้ของ
หน่วยงานเป็ นพื้นฐานสำคัญของการให้บริการของรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริการที่คาบเกี่ยวกัน
หลายหน่วยงานแต่เป็น one-stop service เป้าหมายปลายทางของ e-government ไม่ใช่การ
ดำเนินการเพื่อรัฐ แต่หากผลประโยชน์สูงสุดของการเป็น e-government คือประชาชนและภาค
ธุรกิจ e-government


* หลัก e-Government จะเป็นแบบ G2G G2B และ G2C
ระบบต้องมีความมั่นคงปลอดภัยเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานของรัฐ
ประชาชนอุ่นใจในการรับบริการและชำระเงินค่าบริการ ธุรกิจก็สามารถดำเนินการค้าขายกับหน่วยงานของรัฐด้วยความราบรื่น อินเทอร์เน็ตเป็นสื่อทาง อิเล็กทรอนิกส์ที่สำคัญในการให้บริการตามแนวทางรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์


1. รัฐ กับ ประชาชน (G2C)
เป็นการให้บริการของรัฐสู่ประชาชนโดยตรง โดยที่บริการดังกล่าวประชาชนจะสามารถดำเนินธุรกรรมโดยผ่านเครือข่ายสารสนเทศของรัฐ เช่น การชำระภาษี การจดทะเบียน การจ่ายค่าปรับ การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแทนประชาชนกับผู้ลงคะแนนเสียงและการค้นหาข้อมูลของรัฐที่ดำเนินการให้บริการข้อมูลผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น โดยที่การดำเนินการต่าง ๆ นั้น
จะต้องเป็นการทำงานแบบ Online และ Real Time มีการรับรองและการโต้ตอบที่มีปฏิสัมพันธ์

2. รัฐ กับ เอกชน (G2B)
เป็นการให้บริการขภาคธุรกิจเอกชน โดยที่รัฐจะอำนวยความสะดวกต่อภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมให้สามารถแข่งขันกันโดยความเร็วสูง มีประสิทธิภาพ และมีข้อมูลที่ถูกต้องอย่างเป็นธรรมและโปร่งใส เช่น การจดทะเบียนทางการค้า การลงทุน และการส่งเสริมการลงทุน การจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์ การส่งออกและนำเข้า การชำระภาษี และการช่วยเหลือผู้ประกอบการขนาดกลางและเล็ก

3. รัฐ กับ รัฐ (G2G)
เป็นรูปแบบการทำงานที่เปลี่ยนแปลงไปมากของหน่วยราชการ ที่การติดต่อสื่อสารระหว่างกันโดย
กระดาษและลายเซ็นต์ในระบบเดิมในระบบราชการเดิม จะมีการเปลี่ยนแปลงไปด้วยการใช้ระบบเครือข่ายสารสนเทศ และ ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือในการแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างเป็นทางการเพื่อเพิ่ม ความเร็วในการดำเนินการ (Economy of Speed) ลดระยะเวลาในการส่งเอกสารและข้อมูลระหว่างกันนอกจากนั้นยังเป็นการบูรณาการการให้บริการระหว่างหน่ววยงานภาครัฐโดยการใช้การเชื่อมต่อโครงข่ายสารสนเทศเพื่อเอื้อ

4. รัฐ กับ ข้าราชการและพนักงานของรัฐ (G2E)
เป็นการให้บริการที่จำเป็นของพนักงานของรัฐ (Employee)กับรัฐบาล โดยที่จะสร้างระบบเพื่อช่วยให้เกิดเครื่องมือที่จำเป็นในการปฏิบัติงานและการดำรงชีวิต เช่น ระบบสวัสดิการ ระบบที่ปรึกษาทางกฎหมาย และข้อบังคับในการปฏิบัติราชการ ระบบการพัฒนาบุคลากรภาครัฐ เป็นต้น









Chapter 8 e - Procurement

Chapter 8

e - Procurement

ระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e – procurement)
เป็นระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการให้บริการที่เกี่ยวข้องในกิจกรรมการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ เช่น
การตกลงราคา การสอบราคา การประกวดราคา และการจัดซื้อรวมแบบออนไลน์ รวมถึงการลง
ทะเบียนบริษัทผู้ค้า การทำ e – Catalog และการทำงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการจัดซื้อที่เป็น
Web Based Application เพื่อทำให้ระบบการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
กล่าวคือ ใช้ระยะเวลาจัดหาพัสดุน้อยลง และได้พัสดุที่มีคุณภาพในราคาที่เหมาะสม รวมทั้งเพิ่มความ

โปร่งใสของกระบวนการจัดหาและสามารถติดตามตรวจสอบกระบวนการทำงานได้


• ระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e-Procurement) เป็นระบบสารสนเทศที่สนับสนุน
การให้บริการที่เกี่ยวข้องในกิจกรรมการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ เพื่อทำให้ระบบการจัดซื้อจัดจ้างของ
ภาครัฐ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น กล่าวคือ ใ ช้ระยะเวลาจัดหาพัสดุน้อยลง และได้พัสดุที่มีคุณภาพ ใ น
ราคาที่เหมาะสม รวมทั้งเพิ่มความโปร่งใสของกระบวนการจัดหาและสามารถติดตามตรวจสอบ
กระบวนการทำงาน
• e-Procurement หมายถึง การทำงานในแต่ละขั้นตอนของระบบ ข้อมูลจะถูกจัดส่งและจัดเก็บไปในรูป
แบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งข้อมูลเหล่านี้พร้อมที่จะถูกนำไปวิเคราะห์ต่อไป โ ดยข้อมูลครอบคลุม
ตั้งแต่การค้นหาและเลือกสินค้าจาก e-Catalog การออกใบขอสั่งซื้อ การรับและการอนุมัติใบขอสั่งซื้อ
การออกใบสั่งซื้อ การติดตามการสั่งซื้อ การตรวจรับสินค้าและการชาระเงิน
• การพัฒนาระบบ e-Procurement ของการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐในประเทศไทย ควรเป็นไปเพื่อหนุน

เสริมการปฏิรูประบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐโดยรวม

วัตถุประสงค์ในการพัฒนาระบบ e-Procurement ในประเทศไทย
• ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) จากการจัดซื้อสินค้าหรือบริการได้ตรง กับความต้องการ
ของผู้ใช้
• ความพร้อมรับผิด (Accountability) และการสร้างระบบธรรมาภิบาล(Good
Governance) โ ดยเจ้า หน้าที่ผู้รับผิดชอบระบบจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐควรต้องมี ความ
พร้อมรับผิดต่อการตัดสินใจของตน
• ความโปร่งใส (Transparency) โ ดยกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างต้องเป็นกระบวนการที่เปิด
เผยต่อสาธารณะ
• ความคุ้มค่า (Value for Money) เพื่อลดปัญหาการที่หน่วยงานรัฐมักซื้อสินค้าหรือบริการ
ในราคาที่แพงกว่าของภาคเอกชน

ความมุ่งหมาย ของ e-Procurement ในประเทศไทย
• ลดการรั่วไหลในระบบการจัดซื้อจัดจ้าง ซึ่งจะนำไปสู่การลดค่าใช้จ่ายของ ภาครัฐ และส่ง
เสริมความโปร่งใสและธรรมาภิบาล ในการบริหารราชการแผ่นดิน
• ช่วยภาครัฐในการพัฒนาระบบการจัดซื้อจัดจ้างที่มุ่งไปสู่ระบบที่มีมูลค่าเพิ่มมากขึ้นโดยลด
ทรัพยากรที่ต้องใช้ไปกับการจัดซื้อจัดจ้าง

ประโยชน์ของการพัฒนาระบบ e-Procurement
• เอกสารการยื่นประกวดราคา คำชี้แจงและคำอธิบาย และข้อมูลการตัดสิน ผลการประกวดราคาของโครงการต่าง ๆ ที่ผ่านการคัดเลือก
ไปแล้วมีความชัดเจนและครบถ้วนสมบูรณ์
• การกระจายข้อมูล (Distribution) ไ ปยังผู้ที่เกี่ยวข้องฝ่ายต่าง ๆโ ดยเฉพาะ ผู้ค้าที่จำหน่ายสินค้าหรือบริการดังกล่าวซึ่งอาจใช้วิธีการ
ต่าง ๆ เช่น การส่งเอกสารที่เกี่ยวข้องไปยังผู้ค้าโดยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail) ให้มีความรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์
• การยื่นประกวดราคาผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bid Submission) ซึ่งต้องมีการออกแบบตู้รับเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Vault) ที่มีความปลอดภัย ไ ม่สามารถเปิดได้ก่อนเวลาที่กำหนด อันเป็นกระบวนการที่โปร่งใสและตรวจสอบได้ ทุกขั้น
ตอน
• การเพิ่มความสามารถของระบบให้สูงขึ้น เพื่อให้เกิดบริการมูลค่าเพิ่ม (Value Added Service) ต่าง ๆ เช่น บริการสนับสนุนผู้ค้า
(Supplier Support System) ต่าง ๆ เช่น ระบบสนับสนุนการ จัดทำเอกสารประกวดราคา ระบบการวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ การ
บริหารห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) ที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้าง
• การเพิ่มความสามารถของระบบให้สูงขึ้น เพื่อให้เกิดบริการมูลค่าเพิ่ม (Value Added Service) ต่าง ๆ เช่น บริการสนับสนุนผู้ค้า
(Supplier Support System) ต่าง ๆ เช่น ระบบสนับสนุนการ จัดทำเอกสารประกวดราคา ระบบการวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ การ
บริหารห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) ที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้าง
การพัฒนาระบบ e-Catalog จะมีผลให้สินค้าและบริการในอนาคต ที่ส่วนราชการจัดหามีคุณภาพที่ดีในราคาที่เหมาะสมมากยิ่งขึ้น รวม
ทั้ง มีทางเลือกในการพิจารณาจัดหาพัสดุได้มากยิ่งขึ้น

e-Procurement

ขั้นตอนของระบบ e-Procurement
• ค้นหาสินค้า/บริการที่จะซื้อผ่าน E-Catalog
• เลือกหมวดสินค้าที่ต้องการจะซื้อผ่าน E-Shopping List
• จัดประกาศเชิญชวนผ่าน Web-Site
• ผู้ขายเสนอคุณสมบัติของสินค้าทางอินเตอร์เน็ต (E-RFP)
• ผู้ซื้อตรวจสอบราคากลาง (E-RFQ) และ Track Record ของผู้ขาย
• ประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Auction)
• ประกาศผล ผู้ชนะและส่งมอบ/ตรวจรับพัสดุ
• จ่ายเงินตรงด้วยระบบ E-Payment

ระบบ e–Catalog
• เป็นมาตรฐานระบบ Catalog ที่รวบรวมรายละเอียดของสินค้าและบริการ ซึ่ง
อำนวยความสะดวกให้ผู้ค้า/ผู้รับจ้าง(Supplies) ที่มีคุณสมบัติทำธุรกรรม
สามารถเข้ามา ทำการแจ้งและปรับปรุงรายการสินค้า/บริการของตนเองได้ การ
จัดการ Catalog ของผู้ค้า/ผู้รับจ้าง จะดำเนินการผ่านระบบมาตรฐานกลางโดย
สามารถ Login เข้าสู่ระบบการจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์ของภาครัฐเพื่อ
ปรับปรุงรายการสินค้า/บริการเพื่อให้
• ส่วนราชการสามารถเข้าสู่ระบบเพื่อค้นหาข้อมูลและพิจารณาสั่งซื้อจากสินค้า/
บริการจาก e-Catalog ได้ตลอดเวลา

ระบบ e-­‐RFP(Request for Proposal)และ e-­‐RFQ (Request for Quotation
เป็นระบบที่อำนวยความสะดวกในขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์โดยวิธีสอบราคาหรือวิธีตกลง
ราคา
• ค้นหาข้อมูลผู้ขาย/ผู้รับจ้างและข้อมูลคุณลักษณะเฉพาะของสินค้า/บริการ (Specification) ของผู้ค้า/ผู้รับ
จ้างที่มาลงทะเบียนไว้
• แจ้งผู้ค้า/ผู้รับจ้างที่ได้รับการคัดเลือกในขั้นต้นโดยเป็นการแจ้งผ่านระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
• การยื่นข้อเสนอ (Quotation/Proposal) ของผู้ค้า/ผู้รับจ้าง
• การคัดเลือกผู้ค้า/ผู้รับจ้างเพื่อรับงานซื้อ/จ้างจากหน่วยงานภาครัฐ
• การจัดทำใบขอซื้อ/ขอจ้าง รวมทั้งขั้นตอนการอนุมัติต่างๆ

ระบบ e– Auction ส่วนที่ 1 Reverse Auction เป็นระบบที่อำนวยความสะดวกในด้านการประมูลซื้อให้ได้ในราคาต่ำสุด ซึ่งจะใช้วิธีนี้ในกรณีที่สินค้า/บริการที่
ต้องการจัดซื้อหรือจัดจ้าง e-RFP / e-RFQ มาดำเนินการประมูลผ่านทาง Internet แบบ Real-time ตามวันและเวลาที่กำหนด โดยการประมูล
จะมี 2 แบบ คือ
!
• English Reverse Auction เป็นการประมูลที่ผู้ซื้อจะทราบสถานะของ การประมูลว่าผู้ที่เสนอราคาต่ำสุด เสนอราคาเท่าไร แต่ผู้เข้าประมูลจะ
ไม่ทราบชื่อของผู้เข้าประมูลรายอื่น ๆ
!
• Sealed Bid เป็นการประมูลที่ผู้ซื้อจะไม่ทราบสถานะของการประมูลและ ราคาต่ำสุดของผู้ยื่นประมูล การยื่นข้อเสนอราคาแบบ Sealed
Bidแบ่งเป็น 2 แบบ คือ แบบยื่นข้อเสนอได้เพียงครั้งเดียว และยื่นข้อเสนอได้หลายครั้งภายในระยะเวลาที่กำหนด

ระบบ e-­‐Data Exchange
• เป็นระบบการเชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผู้ค้า เช่น
• การตรวจสอบความเป็นนิติบุคคล โดยร่วมมือกับกรมทะเบียนการค้าและกรมสรรพกร,
• การส่งข้อมูลในการตรวจสอบจำนวนเงินงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรจากสำนักงบ
ประมาณ แผนการใช้จ่ายเงิน (Cash Management) และการสั่งจ่ายเงิน (Direct Payment)
ของกรมบัญชีกลาง!

การส่งข้อมูลตรวจสอบการเสียภาษีของผู้ค้าและผู้รับจ้าง โดยส่งข้อมูลสัญญาให้กรม
สรรพากร และสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน!
• การประกาศเชิญชวนผู้ค้าผ่าน Websiteหน่วยงานกลางที่เกี่ยวข้องได้แก่ กรมบัญชี
กลาง กรมประชาสัมพันธ์ และองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย

ข้อดีของ e-procurement ในด้านของผู้ขาย
• เพิ่มปริมาณการขาย
• ขยายตลาด และได้รับลูกค้ากลุ่มใหม่
• - ดำเนินการบริหารการขาย และกิจกรรมทางการตลาดในต้นทุนต่ำ
• - เวลาของกระบวนการสั้นลง
• - พัฒนาให้พนักงานมีประสิทธิภาพดีขึ้น
• - กระบวนการประมูลเป็นไปในทิศทางเดียวกัน



ข้อดีของ e-Procurement
จะช่วยให้องค์กรสามารถลดงานที่ไม่ก่อให้เกิดคุณค่ากับองค์กรลง และทาให้ฝ่ายจัดซื้อมีเวลา
วางแผนในส่วนของการจัดซื้อเชิงกลยุทธ์ (Strategic sourcing) ซึ่งเป็นหน้าที่ที่สำคัญมากขึ้น






CHAPTER 7Electronic Supply Chain Management

CHAPTER 7
Electronic Supply Chain Management

Supply Chain Management
นับตั้งแต่เกิดวิกฤตเศรษฐกิจการดาเนินธุรกิจต่างๆเกือบทุกสาขาได้หยุดชะงักหรือชะลอตัวลงหรือแม้กระทั่งปิดกิจการไปเนื่องจากกิจการส่วนใหญ่ประสบปัญหาการขาดสภาพคล่องทางการเงินยอดขายลดลงทาให้มีสินค้าคงเหลืออยู่เป็นจานวนมากต้นทุนการผลิตปรับตัวสูงขึ้นรวมถึงพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปทาให้ผู้ผลิตจาเป็นต้องหันมาพัฒนาผลิตภัณฑ์และกาหนดกลยุทธ์ต่างๆเพื่อรองรับกลุ่มลูกค้าและการแข่งขัน

การใช้กลยุทธ์เดิมๆ คือ การเร่งพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์และบริการให้มีความโดดเด่นและใช้กลยุทธ์ด้านราคาด้วยการลดต้นทุนและตัดค่าใช้จ่ายลง แต่องค์กรทุกองกรค์ต่างใช้กลยุทธ์ที่ไม่แตกต่างกันจนกระทั่งไม่ได้เกิดความได้เปรียบหรือเสียเปรียบกันมากนัก แต่ในปัจจุบันมีแนวความคิดที่กาลังได้รับความสนใจและให้ความสาคัญกันมากคือ การบริหารซัพพลายเชน
(Supply Chain Management : SCM)


Supply Chain Management

ระบบที่จัดการการบริหารและเชื่อมโยงเครือข่ายตั้งแต่ suppliers, manufacturers, distributors เพื่อส่งมอบสินค้าหรือบริการให้ลูกค้าโดยมีการเชื่อมโยงระบบข้อมูล วัตถุดิบ สินค้าและบริการ เงินทุน รวมถึงการส่งมอบเข้าด้วยกัน เพื่อให้การส่งมอบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถส่งมอบได้ตรงตามเวลาและความต้องการ

Supply Chain Management



Supply Chain for Denim Jeans


ขั้นตอนวิวัฒนาการไปสู่ระบบการจัดการซัพพลายเชน
การกาเนิดระบบการบริหารซัพพลายเชนกล่าวกันว่ามีต้นแบบมาจากการส่งลาเลียงเสบียงอาหารและอาวุธยุโธปกรณ์ตามระบบส่งกาลังบารุงของทหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงสงครามที่ต้องการความมั่นใจว่าอาวุธและเสบียงอาหารจะต้องจัดส่งให้เพียงพอกับความต้องการและไปยังสถานที่ที่กาหนดอย่างถูกต้องตรงเวลา เพื่อให้เกิดความสูญเสียน้อยที่สุด จึงจาเป็นต้องอาศัยการวางแผนจัดลาดับก่อนหลังและรักษาประสิทธิภาพในการสื่อสารที่รวดเร็วและแม่นยา  ซึ่งต่อมาแนวความคิดดังกล่าวได้นามาพัฒนาและดัดแปลงให้กับธุรกิจการค้าและอุตสาหกรรมเพื่อมุ่งสร้างคุณค่าและความพึงพอใจแก่ลูกค้าด้วยต้นทุนที่ลดลง โดย Helen Peek และคณะได้กล่าวถึงระยะของการเปลี่ยนแปลงธุรกิจเพื่อเข้าสู่กระบวนบริหารซัพพลายเชน 4ระยะ คือ

ระยะที่ 1องค์กรในรูปแบบพื้นฐาน (The Baseline Organization)
เป็นรูปแบบการบริหารจัดการแบบดั้งเดิมที่ต้องการสร้างผลกาไรสูงสุดขององค์กร โดยเน้นความชานาญในการทางานของแต่ละแผนก/ฝ่ายซึ่งองค์กรในรูปแบบนี้อาจไม่สามารถปรับแผนการผลิตและการจัดหาวัตถุดิบได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในตลาดของผู้บริโภคเนื่องจากแต่ละแผนก/ฝ่ายต่างทางานเป็นอิสระต่อกันไม่เกี่ยวกัน

ระยะที่ 2องค์กรที่รวมหน้าที่ทางธุรกิจเข้าด้วยกัน (The Functionally Integrated Company)
ในระยะนี้องค์กรจะเริ่มจัดตั้งเป็นบริษัท โดยในองค์กรได้มีการรวบรวมหน้าที่/ลักษณะงานที่เป็นประเภทเดียวกันหรือคล้ายคลึงกันไว้ในกลุ่มงาน/ฝ่ายเดียวกัน ซึ่งจะไม่มีแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบออกจากันอย่างเด็ดขาดเหมือนระยะแรก เช่น ฝ่ายจัดการวัตถุดิบมีหน้าที่จัดซื้อ จัดสรร ควบคุมการใช้วัตถุดิบและปัจจัยการผลิตอื่นๆ ฝ่ายการผลิตมีหน้าที่วางแผนการผลิต และควบคุมคุณภาพการผลิต และฝ่ายขายมีหน้าที่วางแผนการตลาดและขายสินค้า เป็นต้น

ระยะที่ 3 องค์กรที่รวมการดาเนินงานภายในธุรกิจไว้ด้วยกัน (The Internally Integrated Company)
ในระยะนี้องค์กรมีการพัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างองค์กรของตนอย่างต่อเนื่องจากระยะที่ 2 โดยฝ่ายต่างๆ มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันทาให้มีการติดต่อประสานงานเชื่อมโนงระหว่างฝ่ายงานมากขึ้น การทางานจึงมีความต่อเนื่องกันเหมือนห่วงโซ่ นอกจากนั้นกิจกรรมการผลิตบางอย่างยังสามารถที่จะใช้ทรัพยากรร่วมกันภายในองค์กรได้ด้วย ซึ่งเป็นการช่วยลดต้นทุนการผลิตได้ในระดับหนึ่ง เช่น ฝ่ายผลิตกับฝ่ายขายอาจต้องมีการออกสารวจความต้องการของผู้บริโภคไปพร้อมๆ กัน เพื่อให้ได้รับรู้ถึงพฤติกรรมและความต้องการของผู้บริโภคว่าขณะนี้มีความต้องการสินค้าประเภทใด ลักษณะใด เพื่อที่จะได้มีการวางแผนการผลิตเพื่อให้เกิดความพึงพอใจสูงสุดแก่ผู้บริโภค

ระยะที่ 4 องค์กรที่รวมการดาเนินงานภายนอกธุรกิจไว้ด้วยกัน (The Externally Integrated Company)
ระยะนี้เป็นระยะที่บริษัทก้าวเข้าสู่รูปแบบการบริหารแบบซัพพลายเชนอย่างเต็มตัว โดยบริษัทได้ปรับโครงสร้างการบริหารแบบซัพพลายเชนภายในบริษัทของตนเองไว้เรียบร้อยแล้ว และเริ่มหันมาให้ความสาคัญกับกลยุทธ์การบริหารลูกโซ่อุปทานภายนอก โดยเข้าไปทางานร่วมกับซัพพลายเออร์ในลักษณะที่เป็นเครือข่ายการทางานเดียวกัน เพื่อควบคุมคุณภาพการผลิตวัตถุดิบ คุณลักษณะของวัตถุดิบและวิธีการผลิตวัตถุดิบในโรงงานของซัพพลายเออร์

การบริหารจัดการซัพพลายเชน
เป็นการจัดการที่ต้องอาศัยความร่วมมือของคู่ค้าที่เกี่ยวข้องในซัพพลายเชนเราเป็นสาคัญ องค์กรที่มีความรู้ในการบริหารจัดการดีควรต้องถ่ายทอดแนวคิดและวิธีการปรับปรุงระบบงานและการประสานงานระหว่างองค์กรให้แก่องค์กรอื่นๆ ในซัพพลายเชน การพัฒนาศักยภาพของซัพพลายเชนนั้น นอกจากระบบการประสานงานที่ดีภายในองค์กรแต่ละองค์กรแล้ว จะต้องพิจารณาความสามารถในการประสานระบบงานระหว่างองค์กรใน 3ส่วนหลัก ได้แก่

1. ศักยภาพในการประสานระบบการจัดการระหว่างกลุ่ม suppliers (Supply-management interface capabilities)
เพื่อให้ระบบปฏิบัติการโดยรวมมีต้นทุนต่าที่สุด มีระบบโลจิสติกส์ในการส่งผ่านวัตถุดิบ ผลิต และส่งมอบสินค้าที่มีประสิทธิภาพและสามารถใช้ประสิทธิภาพของระบบโลจิสติกส์ในการแข่งขันเชิงรุกเพื่อสร้างสรรค์ระบบการส่งมอบสินค้าที่รวดเร็ว ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้มากขึ้น

2. ศักยภาพในการประสานระบบการจัดการให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า(Demand-management interface capabilities)
เป็นระบบการบริหารจัดการเพื่อการให้บริการที่มีคุณภาพและการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า ทั้งก่อน ระหว่าง และภายหลังการขาย เพื่อสร้างความได้เปรียบเพิ่มขึ้นในเชิงการแข่งขัน คุณภาพโลจิสติกส์ที่ต้องการคือ ความรวดเร็ว การมีสินค้าพร้อมจาหน่ายเมื่อลูกค้าต้องการ การส่งมอบสินค้าที่สมบูรณ์สอดคล้องตามความต้องการของลูกค้า

3. ศักยภาพในการประสานระบบการจัดการสารสนเทศ(Information management capabilities)
ระบบสื่อสารระหว่างองค์กรในซัพพลายเชนมีความสาคัญอย่างยิ่ง ก่อนที่บริษัทข้ามชาติจะเริ่มต้นประกอบการในประเทศต่างๆ จะต้องมีการวางโครงสร้างพื้นฐานทาง IT พิจารณาวางแผนกับปัญหาในเรื่องการประสานข้อมูลต่างๆ ทั้งในระบบองค์กรและระหว่างองค์กรโดยพัฒนาร่วมกันไปพร้อมๆ กับการวางกลยุทธ์ ระบบสื่อสารที่ดีทาให้เกิดความรวดเร็วและประหยัดต้นทุนในการดาเนินงานได้มาก

ปัญหาของการจัดการซัพพลายเชน
การจัดการซัพพลายเชนให้ประสบความสาเร็จเป็นสิ่งที่ทุกองค์กรต้องการ อย่างไรก็ตามในบางครั้งการจัดการซัพพลายเชนอาจจะมีปัญหาเกิดขึ้น ซึ่งสามารถจาแนกได้ดังนี้
1. ปัญหาจากการพยากรณ์ การพยากรณ์ความต้องการสินค้าเป็นสิ่งที่สาคัญมากในการจัดการซัพพลายเชน ซึ่งการพยากรณ์ที่ผิดพลาดมีส่วนสาคัญที่ทาให้การวางแผนการผลิตผิดพลาด และอาจจะทาให้ผู้ผลิตมีสินค้าไม่เพียงพอกับความต้องการของลูกค้าที่เกิดขึ้น
2. ปัญหาในกระบวนการผลิต ปัญหาที่เกิดจากกระบวนการผลิตอาจจะทาให้ไม่สามารถผลิตสินค้าได้ตามเวลาที่กาหนดไว้ เช่น เครื่องจักรเสียทาให้ต้องเสียเวลาส่วนหนึ่งในการซ่อมและปรับตั้งเครื่องจักร
3. ปัญหาด้านคุณภาพ ปัญหาด้านคุณภาพอาจจะส่งผลให้กระบวนการผลิตต้องหยุดชะงัก และทาให้ไม่สามารถส่งมอบสินค้าให้แก่ลูกค้าได้ตามที่กาหนดไว้ นอกจากนั้นระบบการขนส่งที่ไม่มีคุณภาพสามารถส่งผลกระทบต่อผู้ที่อยู่ในโซ่อุปทานได้เช่นกัน
4. ปัญหาในการส่งมอบสินค้า การส่งมอบที่ล่าช้าเกิดขึ้นได้ตั้งแต่เรื่องของวัตถุดิบ งานระหว่างทา
และสินค้าสาเร็จรูป เช่น ซัพพลายเออร์ส่งมอบวัตถุดิบล่าช้า ทาให้ผู้ผลิตไม่สามารถผลิตสินค้าได้ตามตารางการผลิตที่กาหนดไว้ นอกจากนั้น ในระหว่างกระบวนการผลิต การส่งต่องานระหว่างทาที่ล่าช้าตามไปด้วยในกรณีที่ไม่สามารถปรับตารางการผลิตได้ทัน ยิ่งไปกว่านั้น การส่งมอบสินค้าสาเร็จรูปให้ลูกค้าล่าช้าจะส่งผลกระทบต่อระดับการให้บริการลูกค้าและความสามารถในการแข่งขันของกิจการ
5. ปัญหาด้านสารสนเทศ สารสนเทศที่ผิดพลาดมีผลกระทบต่อการจัดการโซ่อุปทาน ซึ่งทาให้การผลิตและการส่งมอบสินค้าผิดไปจากที่กาหนดไว้ ความผิดพลาดในสารสนเทศที่เกิดขึ้นมีหลายประการ เช่น ความผิดพลาดในการสั่งซื้อวัตถุดิบ การกาหนดตารางการผลิต การควบคุมสินค้าคงคลัง การขนส่ง ฯลฯ
6. ปัญหาจากลูกค้า ปัญหาที่เกิดจากลูกค้าเป็นความไม่แน่นอนอย่างหนึ่งของโซ่อุปทาน เช่น ลูกค้ายกเลิกคาสั่ง


Bullwhip Effect
คือปัญหาที่เกิดจากความแปรปรวนเล็กน้อยของความต้องการถูกนามาขยาย เมื่อส่งข้อมูลกลับต้นทาง

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ (e-Business)
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ (e-Business) หรือในบางครั้งเรียกว่า พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) เป็นการใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ในกระบวนการทางธุรกิจและการดาเนินงานระหว่างธุรกิจกับธุรกิจและระหว่างบุคคลกับธุรกิจ ในธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ (e-Business) จะมีการทาธุรกรรมผ่านสื่อต่างๆ ทางอิเล็กส์ทรอนิกส์ เช่น การสั่งซื้อสินค้าทางอินเทอร์เน็ต การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ

ธุรกิจที่อยู่ในโซ่อุปทานส่วนใหญ่จะมีการดาเนินธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์กับซัพพลายเออร์และ
ลูกค้าประโยชน์ที่ได้รับจากการทาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์มีหลายประการ เช่น
เกิดการประหยัดต้นทุน เนื่องจากมีการใช้เทคโนโลยี แทนแรงงานคน ซึ่งทาให้ราคาของสินค้าลดลง
ลดการใช้คนกลางในการดาเนินธุรกิจ เช่น ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก ผู้ให้บริการ ฯลฯ
ลดกิจกรรมที่ไม่จาเป็นระหว่างโซ่อุปทานทาให้ผู้บริโภคได้รับประโยชน์จากสารสนเทศมากขึ้น

การใช้บาร์โค้ด (Barcode)
บาร์โค้ดหรือรหัสแท่ง เป็นสัญลักษณ์ที่อยู่ในรูปของแท่งบาร์ โดยจะประกอบไปด้วยบาร์ที่มีสีเข้มและช่องว่างสีอ่อน ซึ่งบาร์เหล่านี้จะเป็นตัวแทนของตัวเลขและตัวอักษร สามารถอ่านได้ด้วยเครื่อง Scanner บาร์โค้ดจึงทาหน้าที่ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ของสินค้า อาทิ หมายเลขของสินค้า ครั้งที่ทาการผลิต เลขหมายเรียงลาดับกล่องเพื่อการขนส่ง ปริมาณสินค้าที่ผลิต รวมถึงตาแหน่งผู้รับสินค้า เป็นต้น เพื่อให้สามารถควบคุม การหมุนเวียนของสินค้าโดยรวดเร็วขึ้นไม่ว่าจะเป็นการรับ การจัดเก็บและการจ่ายสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ นับว่ามีประโยชน์อย่างมากในปัจจุบันและที่สาคัญการติดบาร์โค้ดถือเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนให้เกิดการจัดการซัพพลายเชน ลดระยะเวลาและความซ้าซ้อนในการทางาน
ปัจจุบันรหัสสากร (EAN Thailand) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยเป็นสถาบันที่ควบคุม ดูแลและส่งเสริมการใช้ระบบมาตรฐาน ECC : UCC (ย่อมาจาก European Article Number : Uniform Code Council)


การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (EDI : Electronic Data Interchange)
เป็นเทคโนโลยีอีกประการหนึ่งที่มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการจัดการซัพพลายเชน เป็นระบบถ่ายทอดข่าวสารข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งในรูปสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ โดยรูปแบบข่าวสารข้อมูลนั้นจะมีการจัดรูปแบบและมีความเป็นมาตรฐานเดียวกันตามที่ได้ตกลงกันไว้ เรียกว่า EDI Message ผ่านเครือข่ายการสื่อสาร (Telecommunication Network) ทาให้เพิ่มความถูกต้องและรวดเร็วในการทางาน ทั้งผู้ส่งและผู้รับข้อมูลต่างก็สามารถเข้าถึง EDI message ได้โดยไม่ต้องเสียเวลาในการบันทึกข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์หรือพิมพ์ข้อมูลการสั่งซื้อออกมาเป็นเอกสาร ทาให้ประหยัดเวลาและลดค่าใช้จ่ายในการจัดส่งเอกสาร ลดปัญหาการสูญหายและความผิดพลาดเนื่องจากมีระบบฐานข้อมูลที่ถูกต้อง


การใช้ซอฟแวร์ Application SCM
การนาซอฟแวร์มาพัฒนาและประยุกต์ใช้งานในปัจจุบัน ยกตัวอย่างเช่น Enterprise Resource Planning (ERP) เป็นซอฟแวร์ที่จัดเป็นระบบศูนย์กลางขององค์กรทั้งหมด ทาหน้าที่ประสานงานหลักๆ ในด้านต่างๆ เช่น การเงิน การผลิต และการจัดคลังสินค้า
Advance Planning and Scheduling จัดสร้างแผนการผลิตและจัดตารางเวลาโรงงานการผลิต ใช้เงื่อนไขข้อจากัดและกฎเกณฑ์ทางธุรกิจในการปรับตารางให้ดีที่สุด Inventory Planning วางแผนคลังสินค้าที่จาเป็นในแต่ละจุดเพื่อกระจายการจัดส่ง เพื่อให้ตรงตามความต้องการของตลาด
Customer Asset Management ใช้สาหรับจัดระบบการสื่อสารโต้ตอบกับลูกค้ารวมทั้งระบบขายอัตโนมัติและการให้บริการลูกค้า เป็นต้น
ซึ่งในปัจจุบันผู้ผลิตระบบ ERPหลักๆ มีอยู่ 5 รายด้วยกัน คือ SAP,ORACLE, Peoplesoft, J.D. Edwards และ Baan




Chapter 6 e-CRM : Electronic Customer Relationship Management

Chapter 6
e-CRM : Electronic Customer Relationship Management

Customer relationship management (CRM) :
An approach to building and sustaining long-term business with
customers.
CRM หมายถึง เป็นกลยุทธ์ทางธุรกิจเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระยะยาวกับลูกค้า
เรียนรู้ความต้องการที่แตกต่างกันของลูกค้า และตอบสนองความต้องการของ ลูกค้า

ด้วยสินค้าหรือบริการที่เหมาะสมกับลูกค้าแต่ละคนมากที่สุด

เป้าหมายของ CRM นั้นไม่ได้ เน้นเพียงแค่การบริการลูกค้าเท่านั้น แต่ยังรวมถึง
การเก็บข้อมูลพฤติกรรม ในการใช้จ่ายและความต้องการของลูกค้า จากนั้นจะนำข้อมูล
เหล่านั้นมาวิเคราะห์ และใช้ให้เกิดประโยชน์

กระบวนการทำงานของระบบCRM

Identify เก็บข้อมูลว่าลูกค้าของบริษัทเป็นใคร เช่น ชื่อลูกค้า ข้อมูลสำหรับติดต่อกับลูกค้า
Differentiate วิเคราะห์พฤติกรรมของลูกค้าแต่ละคน และจัดแบ่งลูกค้าออกเป็นกลุ่มตามคุณ
ค่าที่ลูกค้ามีต่อบริษัท
Interact มีปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าเพื่อเรียนรู้ความต้องการของลูกค้า และเพื่อสร้างความพึงพอ
ใจให้กับลูกค้าในระยะยาว
Customize นำเสนอสินค้าหรือบริการที่มีความเหมาะสมเฉพาะตัวกับลูกค้าแต่ละคน

ขั้นตอนการทำงานของ CRM

1. การวิเคราะห์ลูกค้า
ผู้ประกอบการธุรกิจจะต้องสามารถใช้ข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้าที่มีอยู่ในฐานข้อมูลได้อย่างมีคุณค่า
และมีประสิทธิภาพ และการเก็บข้อมูลของลูกค้าและการนำไปใช้ จึงควรมีการจัดการอย่างเป็น
ระบบ
2. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการตลาด
สภาพแวดล้อมทางการตลาดแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ระบบภายใน และ ระบบภายนอก ซึ่งทั้งสองระบบต่างมี
ความสำคัญต่อองค์กร หากมีจุดบกพร่องหรือเกิดข้อจำกัดขึ้นที่ใด อาจจะทำให้ธุรกิจประสบกับความล้มเหลวได้
!
3. การแบ่งส่วนตลาด
ซึ่งสามารถแบ่งลูกค้าออกเป็น 3 ประเภท คือ ลูกค้าที่เป็นธุรกิจค้าส่ง ธุรกิจค้าปลีก และผู้บริโภค
!
4. การกำหนดตลาดเป้าหมาย
สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ประเภท Traders คือ กลุ่มคนกลางในช่องทางการจัดจำหน่าย และประเภท
Consumers คือ กลุ่มผู้บริโภค ทั้งนี้ บริษัทไม่ควรดึงลูกค้าทุกคนเข้ามาเป็นกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด

5. การจัดทำแผนการตลาด
บริษัทควรจะจัดลำดับความสำคัญของแต่ละกลุ่มเป้าหมายว่าควรให้ความสำคัญกับกลุ่มลูกค้าเป้าหมายใดเป็นอันดับแรกและ
รองลงไป และแต่ละกลุ่มนั้นผู้ใดมีบทบาทและมีอำนาจในการตัดสินใจซื้อ เครื่องมือหรือกิจกรรมการสื่อสารการตลาดที่นำมาใช้กับ
E-CRM นั้นจะต้องมีความหลากหลาย ดังนี้

การตลาดโดยตรง Direct Marketing
ได้แก่ โ ทรศัพท์ ( Telemarketing ) เช่น Call Center ใบรับประกันสินค้า ( Warranty Card ) การตลาดอิเล็กทรอนิกส์
( E-Marketing ) เช่น การสร้างเวปไซต์ที่ให้สาระน่ารู้เกี่ยวกับสินค้า และมีสื่อตอบกลับให้ลูกค้าสื่อสารกลับมา

การประชาสัมพันธ์ ( Public Relations )
ได้แก่ เอกสารข่าวแจกในรูปของใบปลิว แผ่นพับ วารสาร การจัดกิจกรรมพิเศษ ( Event Marketing ) เช่น การเชิญลูกค้าเป้า
หมายที่ถูกต้องมาร่วมงานที่บริษัทจัดขึ้น

การประชาสัมพันธ์ ( Public Relations )
ได้แก่ เอกสารข่าวแจกในรูปของใบปลิว แผ่นพับ วารสาร การจัดกิจกรรมพิเศษ ( Event Marketing ) เช่น การเชิญลูกค้าเป้า
หมายที่ถูกต้องมาร่วมงานที่บริษัทจัดขึ้น

การโฆษณา ( Advertising )
เช่น การเขียนข้อความแบบเป็นกันเอง และพิมพ์ส่วนท้ายของโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ เป็นคูปองเพื่อให้ลูกค้ากรอกรายละเอียดตอบ
กลับมายังบริษัท ทั้งนี้เพื่อขอรับข่าวสารข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าเพิ่มเติม

การส่งเสริมการขาย ( Sales Promotion )
เป็นการสร้างและเพิ่มยอดซื้อของลูกค้าอย่างต่อเนื่องในระยะเวลาหนึ่ง ไ ด้แก่ แคมเปญสะสมแต้มคะแนนจากยอดซื้อเพื่อแลกรับ
ของรางวัลหรือผลิตภัณฑ์อื่นๆ การนำสินค้าเก่ามาแลกซื้อสินค้าใหม่ ซึ่งการส่งเสริมการขายนี้เหมาะสำหรับ E-CRM ที่มุ่งสร้าง
สัมพันธ์กับลูกค้าใหม่


ประโยชน์ ของ CRM

-มี รายละเอียดข้อมูลของลูกค้าในด้านต่างๆ ได้ แก่ Customer Profile
-Customer Behavior
-วางแผนทางด้านการตลาดและการขายอย่างเหมาะสม
-ใช้กลยุทธ์ ในการตลาด และการขายได้ อย่างรวดเร็วอย่างมี ประสิทธิ ภาพตรงความต้องการของ
ลูกค้า
-เพิ่มและรักษาส่วนแบ่งตลาดของธุรกิจ
-ลดการทำงานที่ซับซ้อน ลดค่าใช้ จ่ายและเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงาน เพิ่มโอกาสในการ
แข่งขัน ก่อให้ เกิดภาพพจน์ ที่ดี ต่อองค์ การ

e-CRM : Electronic Customer Relationship Management

-E-CRM หมายถึง กระบวนการจัดการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าทาง internet มี
การผสมผสานการใช้งานเทคโนโลยี บุคลากร และกระบวนการขายสินค้าหรือบริการ
เข้าด้วยกัน เพื่อให้ได้มาซึ่งลูกค้า รักษาลูกค้าไว้และสร้างกำไรสูงสุดจากลูกค้า


องค์ประกอบของE-CRM

❖ระบบการจัดการ
❖คน
❖เทคโนโลยี

หน้าที่หลักของ e-CRM

*การหาลูกค้าใหม่ (Prospecting) ปัจจัยที่ต้องพิจารณา คือ
❖ การจัดกลุ่มลูกค้า
❖ การเลือกกลุ่มลูกค้าที่จะเป็นเป้าหมาย
❖ วิธีการได้ลูกค้า การจัดกลุ่มและการเลือกจะพิจารณาจาก “ความต้องการของลูกค้า” และ “กำไรของบริษัท” ส่วน
วิธีการได้ลูกค้า ได้แก่
❖ การโฆษณาตามสื่อต่างๆ
❖ การประชาสัมพันธ์
❖ Web Site
❖ พนักงานขาย
❖ งานแสดงสินค้า
❖ ลูกค้าติดต่อ สอบถามที่บริษัท
❖ การจัดกิจกรรมทางการตลาด

➢การรักษาลูกค้าเก่าไว้ หรือ การเรียกลูกค้าเก่ากลับมา (Save or Win Back)
▪ตรวจสอบ
✓ ลูกค้าที่มีแนวโน้มการซื้อลดลง
✓ ลูกค้าที่ขาดการติดต่อ
▪กลยุทธ์
✓ วิเคราะห์และเสนอสินค้า และหรือโปรแกรมที่จูงใจ
✓ เสนอกิจกรรมเพื่อให้ลูกค้าเข้าร่วม

❖ การสร้างความจงรักภักดี การวัดความจงรักภักดีพิจารณาจาก (ต่อ)
1)มูลค่าที่ได้รับจากลูกค้า (Value-based segmentation)
ดูยอดซื้อของลูกค้าแต่ละราย
ดูกำไรที่ได้รับ
จัดกลุ่มตามยอดซื้อหรือกำไร
2)ความต้องการของลูกค้า (Need-based segmentation)
ดูความต้องการของแต่ละคน
จัดกลุ่มตามความต้องการ
3)การสร้างความจงรักภักดีทำได้โดย
จัดกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง
เสนอสิทธิพิเศษ
เสนอสินค้าหรือบริการใหม่ๆ
ทำ Loyalty Program

ปัจจัยที่มีผลต่อ e-CRM

1. ปรับแนวคิดการติดต่อกับลูกค้า
2. เน้นการติดต่อและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับลูกค้า
3. ดำรงไว้ซึ่งเป้าหมายการสร้างประโยชน์ให้แก่ลูกค้า
4. เรียนรู้และเข้าถึงเทคโนโลยีที่นำมาใช้ในการพัฒนาความสัมพันธ์
5. ต้องมีข้อมูลของลูกค้าอย่างถูกต้อง ทันสมัยเพื่อให้ทันกับพฤติกรรมของลูกค้า
6. ติดตามกลยุทธ์การตลาดของคู่แข่งขันอย่างทันเหตุการณ์
7. ต้องมีความยืดหยุ่นในกลยุทธ์ ถ้าข้อมูลเปลี่ยนต้องปรับกลยุทธ์ตอบสนองความเปลี่ยนแปลงได้อย่างทันที
8. ทำ ERM : Employee Relationship Management คือ สร้างความสัมพันธ์และความรู้สึกของการทำงาน
เป็นทีม
9. ทำ ERM : Experiment Relationship Management คือ การจัดการกับประสบการณ์ของลูกค้า
10.ทุกฝ่ายในบริษัทต้องมี Marketing Mind


ขั้นตอนการทำ e-CRM

❑พัฒนาฐานข้อมูล
❑เลือกเทคโนโลยี
❑เลือกโปรแกรมการตลาด
❑ติดต่อสื่อสาร
❑ประเมินผล
❑ปรับปรุงฐานข้อมูล

























Chapter 5 e-Marketing


 E-marketing : Achieving marketing objectives through use of electronic communications technology.


 E-Marketingย่อมาจากคาว่าElectronic Marketingหรือเรียกว่า“การตลาดอิเล็กทรอนิกส์”หมายถึงการดาเนินกิจกรรมทางการตลาดโดยใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ที่ทันสมัยและสะดวกต่อการใช้งาน เข้ามาเป็นสื่อกลาง ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ หรือพีดีเอ ที่ถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกันด้วยอินเทอร์เน็ต มาผสมผสานกับวิธีการทางการตลาด การดาเนินกิจกรรมทางการตลาด อย่างลงตัวกับลูกค้าหรือกลุ่มเป้าหมาย เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายขององค์กรอย่างแท้จริง


คุณลักษณะเฉพาะของe-Marketing
เป็นการสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมายในลักษณะเฉพาะเจาะจง(NicheMarket)
เป็นลักษณะเป็นการสื่อสารแบบ2ทาง(2WayCommunication)
เป็นรูปแบบการตลาดแบบตัวต่อตัว(OnetoOneMarketingหรือPersonalizeMarketing)ที่ลูกค้าหรือกลุ่มเป้าหมายสามารถกาหนดรูปแบบสินค้าและบริการได้ตามความต้องการของตนเอง
มีการกระจายไปยังกลุ่มผู้บริโภค(DispersionofConsumer)
เป็นกิจกรรมที่นักการตลาดสามารถสื่อสารไปยังทั่วทุกมุมโลกตลอด24ชั่วโมง(24BusinessHours)
สามารถติดต่อสื่อสารโต้ตอบปฏิสัมพันธ์ได้อย่างรวดเร็ว(QuickResponse)
มีต้นทุนต่าแต่ได้ประสิทธิผลสามารถวัดผลได้ทันที(LowCostandEfficiency)
มีความสัมพันธ์กับกิจกรรมการตลาดแบบดั้งเดิม(RelatetoTraditionalMarketing)
มีการตัดสินใจในการซื้อจากข้อมูลข่าวสารที่ได้รับ(PurchasebyInformation)

E-Marketing เป็นส่วนผสมแนวความคิดทางการตลาดและทางเทคนิครวมเข้าไว้ด้วยกันทั้งด้านการออกแบบ(Design),การพัฒนา(Development),การโฆษณาและการขาย(AdvertisingandSales)เป็นต้น(ตัวอย่างกิจกรรมได้แก่SearchEngineMarketing,E-mailMarketing,AffiliateMarketing,ViralMarketingฯลฯ)โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ธุรกิจและลูกค้าเนื่องจากระบบทางอิเล็กทรอนิกส์สามารถสนับสนุนการร้องขอข้อมูลของลูกค้าการจัดเก็บประวัติและพฤติกรรมของลูกค้าเอาไว้รวมถึงการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าได้ส่งผลต่อการเพิ่มและรักษาฐานลูกค้า(CustomerAcquisitionandRetention)และอานวยประโยชน์ในการประกอบธุรกิจอย่างครบถ้วน

ความแตกต่างกันระหว่าง e-Marketing, e-Business และ e-Commerce
- E-Marketingคือรูปแบบการทาการตลาดในรูปแบบหนึ่งโดยใช้เครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์เครื่องมือดิจิตอลเข้ามาช่วยในการทาการตลาดแต่ในความหมายสาหรับE-BusinessหรือElectronicBusinessนั้นจะมีความหมายที่ใกล้เคียงกับคาว่าE-CommerceหรือElectronicCommerceมากกว่าเพียงแต่ว่าความหมายของE-Businessจะมีขอบเขตที่กว้างกว่าโดยหมายถึงการทากิจกรรมในทุกๆขั้นตอนของกระบวนการธุรกิจผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือเรียกว่า“ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์”ทั้งการทาการค้าการซื้อการขายการติดต่อประสานงานงานธุรการต่างๆที่เกิดขึ้นภายในสานักงานและการทาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งเป็นกระบวนการในการดาเนินการทางธุรกิจที่อาศัยระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์มาใช้ในการดาเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางธุรกิจโดยมีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม(AddedValue)ตลอดกิจกรรมทางธุรกิจ(ValueChain)และลดขั้นตอนของการที่ต้องอาศัยแรงงานคน(ManualProcess)มาใช้แรงงานจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์(ComputerizedProcess)แทนรวมถึงช่วยให้การดาเนินงานภายในภายนอกมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและยังเป็นการสร้างความพึงพอใจให้ลูกค้ามากขึ้นอีกด้วยตัวอย่างเช่นการควบคุมสต๊อคและการชาระเงินให้เป็นระบบอัตโนมัติดาเนินการได้รวดเร็วและทาได้ง่ายลักษณะการนาE-Businessมาประยุกต์ใช้กับธุรกิจได้แก่

ลักษณะการนา E-Business มาประยุกต์ใช้กับธุรกิจได้แก่
*การเชื่อมต่อระหว่างกันภายในองค์กร (Intranet)
*การเชื่อมต่อระหว่างกันกับภายนอกองค์กร (Extranet)
*การเชื่อมต่อระหว่างกันกับลูกค้าทั่วโลก (Internet)

ประโยชน์ของ e-Marketing
นักการตลาดชื่อSmithandChaffeyได้กล่าวถึงประโยชน์จากการนาเอาเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตมาช่วยสนับสนุนการทาการตลาดและก่อให้เกิดผลสาเร็จตามเป้าหมายโดยมองว่าE-Marketingเป็นกระบวนการในการจัดการทางการตลาดโดยมีการเน้นย้าถึงการให้ความสาคัญแก่ลูกค้าเป็นหลักในขณะที่แสดงถึงการเชื่อมโยงการทางานทางธุรกิจในอันที่จะช่วยสร้างความสาเร็จในผลกาไรให้กับธุรกิจซึ่งสามารถแบ่งกระบวนการในการจัดการทางการตลาดได้ดังนี้

กระบวนการในการจัดการทางการตลาดของ e-Marketing
การจาแนกแยกแยะ(Identifying)สามารถทาการจาแนกแยกแยะได้ว่าลูกค้าเป็นใครมีความต้องการอย่างไรอยู่ที่ไหนและมีพฤติกรรมในการเลือกซื้อสินค้าอย่างไรโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย
การทานายความคาดหวังของลูกค้า(Anticipating)เนื่องจากความสามารถของอินเทอร์เน็ตนั้นช่วยเพิ่มช่องทางให้ลูกค้าสามารถเข้าถึงข้อมูลและสามารถซื้อสินค้าได้สะดวกยิ่งขึ้นโดยการเข้าใจถึงความต้องการของลูกค้าถือเป็นหัวใจสาคัญในการทาE-Marketingตัวอย่างเช่นเว็บไซต์สายการบินต้นทุนต่าeasyJet(http://www.easyjet.com)มีส่วนสนับสนุนทาให้มีรายได้จากการผ่านออนไลน์กว่า90%
สนองความพอใจของลูกค้า(Satisfying)ถือเป็นความสาเร็จในการทาE-Marketingในการสร้างความพอใจให้แก่ลูกค้าผ่านช่องทางออนไลน์การเพิ่มขึ้นของลูกค้านั้นอาจจะมาจากการใช้งานง่ายการสนับสนุนการให้บริการแก่ลูกค้าเป็นต้น


ประโยชน์ของการนา e-Marketing มาใช้ 5Ss’
นอกจากนี้SmithandChaffeyยังได้กล่าวถึง5Ss’ซึ่งเป็นประโยชน์ที่ได้รับจากการนาเอากลยุทธ์การตลาดออนไลน์มาใช้ได้แก่
การขาย(Sell)ช่วยทาให้ยอดขายเพิ่มขึ้นจากการทาการตลาดออนไลน์ซึ่งจะเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ทาให้ลูกค้ารู้จักและเกิดความทรงจา(AcquisitionandRetentiontools)ในสินค้าบริการเราเพิ่มมากขึ้นซึ่งนาไปสู่การขายที่เพิ่มขึ้นอีกด้วย
การบริการ(Serve)การสร้างประโยชน์ที่เพิ่มขึ้นให้แก่ลูกค้าจากการใช้บริการผ่านออนไลน์ไม่ว่าจะเป็นการให้สิทธิพิเศษต่างๆเป็นต้น)
การพูดคุย(Speak)การสร้างความใกล้ชิดกับลูกค้ามากยิ่งขึ้นโดยสามารถสร้างแบบสนทนาการโต้ตอบกันได้ระหว่างกันได้(Dialogue)ทาให้ลูกค้าสามารถเข้ามาสอบถามตลอดจนสามารถสารวจความคิดเห็นความต้องการของลูกค้าลูกค้ามีความสนใจในเรื่องใดเป็นพิเศษ
ประหยัด(Save)การสร้างความประหยัดเพิ่มขึ้นจากงบประมาณการพิมพ์กระดาษโดยสามารถใช้วิธีการส่งจดหมายข่าวE-Newsletterไปยังลูกค้าแทนการส่งจดหมายแบบดั้งเดิม
การประกาศ(Sizzle)การประกาศสัญลักษณ์ตราสินค้าผ่านออนไลน์ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างสินค้าของเราให้เป็นที่รู้จักมีความคุ้นเคยมากยิ่งขึ้น


หลักการของ e-Marketing
การตลาดยุคEเน้นการใช้MassCustomizationมากกว่าMassMarketingเพราะลูกค้าทุกคนมีสิทธิ์เลือกเว็บไซต์ต่างๆทั่วโลกเพื่อหาสินค้าที่ตนเองต้องการเพราะฉะนั้นเราต้องเน้นระบบที่สนองตอบความต้องการของลูกค้าแต่ละคนเป็นหลักทั้งนี้เราจักต้องสร้างระบบโปรแกรมอัตโนมัติขึ้นมาตอบสนองความต้องการดังกล่าวโดยให้แต่ละคนสามารถเลือกทางเลือกที่สนองความต้องการได้ด้วยตนเอง
การแบ่งส่วนตลาดต้องเป็นแบบMicroSegmentationหรือOne-to-OneSegmentationหมายถึงหนึ่งส่วนตลาดคือลูกค้าหนึ่งคนเพราะในตลาดบนเว็บถือว่าลูกค้าเป็นใหญ่เนื่องจากมีสิทธิ์ที่เลือกซื้อสินค้าใครก็ได้ยกเว้นแต่เราเป็นเพียงรายเดียวที่มีอยู่ในตลาดฉะนั้นการพิจารณาข้อมูลความต้องการหรือพฤติกรรมของลูกค้าทุกคนโดยอาศัยระบบฐานข้อมูลที่ตรวจจับพฤติกรรมของลูกค้าแต่ละรายได้ถือเป็นปัจจัยแห่งความสาเร็จที่สาคัญมากหรือในแง่ของการจัดการแล้วเราเรียกว่าCRMหรือCustomerRelationshipManagementนั่นเองเพราะนี่จะทาให้เราทราบว่าใครคือลูกค้าประจา
การวางตาแหน่งสินค้า(Positioning)ต้องเป็นไปตามความต้องการแต่ละบุคคลหรือMigrationingการวางตาแหน่งสินค้าเพื่อให้ลูกค้ารับรู้นั้นต้องวางตามความต้องการของแต่ละบุคคลและหากความต้องการนั้นเปลี่ยนไประบบก็ต้องเคลื่อนตาแหน่งของการวางนั้นไปสนองตอบต่อความต้องการใหม่ด้วย
ให้เราเป็นหนึ่งในเว็บที่ลูกค้าจาได้การสร้างความจดจาเพื่อให้จาเว็บไซต์เราการจดชื่อโดเมนที่ทาให้จดจาง่ายหรือมีความหมายที่สอดคล้องกับเนื้อหาของเว็บไซต์จึงเป็นสิ่งที่จาเป็นมาก
ต้องรู้ความต้องการลูกค้าล่วงหน้าจาเป็นจักต้องติดตามพฤติกรรมการซื้อของกลุ่มเป้าหมายโดยตลอด
ต้องรู้ความต้องการลูกค้าล่วงหน้าจาเป็นจักต้องติดตามพฤติกรรมการซื้อของกลุ่มเป้าหมายโดยตลอด
ต้องปรับที่ตัวสินค้าและราคาเป็นหลักสินค้าถือเป็นหัวใจที่สาคัญที่สุดจาเป็นอย่างยิ่งที่จักต้องเทียบกับคุณค่าของสินค้าและคู่แข่งเสมอว่าใครสนองตอบต่อความต้องการได้ดีกว่ากัน
ต้องให้ลูกค้าตกแต่งสินค้าตามความต้องการได้โดยอัตโนมัติ(Customization&Personalization)วิธีที่ให้ลูกค้าได้รับคุณค่าหรือสนองความต้องการได้ดีที่สุดก็คือการให้ลูกค้าได้เลือกหรือตกแต่งสินค้าเองรวมทั้งการคานวณราคาด้วยฉะนั้นการให้Optionsให้ลูกค้าได้เลือกมากที่สุดจึงเป็นสิ่งที่สาคัญมาก


ส่วนผสมทางการตลาดอิเล็กทรอนิกส์
ผลิตภัณฑ์(Product)
ราคา(Price)
สถานที่(Place)
การส่งเสริมการขาย(Promotion)
เครือข่ายสังคม(SocialNetwork)
การขายบนเว็บไซต์
การบริการลูกค้า
ระบบป้องกันความปลอดภัย
ระบบฐานข้อมูลลูกค้าเพื่อนามาใช้ในการบริการ(PersonalizationService)

e-Marketing Planning

the SOSTAC™ framework developed by Paul Smith (1999) ซึ่งสามารถสรุปขั้นตอนที่เกี่ยวข้องได้ 6ขั้นตอนด้วยกัน คือ
Situation –where are we now?
Objectives –where do we want to be?
Strategy –how do we get there?
Tactics –how exactly do we get there?
Action –what is our plan?
Control –did we get there?







7 ขั้นตอนสาหรับการทา e-Marketing
*ขั้น1กาหนดวัตถุประสงค์(SetObjective)
การจัดทาเว็บไซต์ต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของธุรกิจ


*เพื่อสร้างยอดขาย(SalesandAcquisition)
การนาe-Marketingมาใช้เพื่อให้เกิดผลกระทบในการเพิ่มยอดขายโดยตรงกับธุรกิจทั้งในระยะสั้นและระยะยาวเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นขณะตัดสินใจซื้อ

*เพื่อสร้างภาพลักษณ์(Image)
ลักษณะภาพลักษณ์ที่ดีมีดังนี้
I.สร้างขึ้นมาให้ดูง่ายจดจาง่าย
II.ดูมีความน่าเชื่อถือก่อให้เกิดความประทับใจ
III.เป็นรูปธรรมและมองเห็นได้อย่างชัดเจน
IV.อยู่ระหว่างความคาดหวังและความเป็นจริงควรเป็นไปในเชิงบวก
V.เป็นสินทรัพย์ของธุรกิจ

*ให้บริการและเพื่อสนับสนุนการขาย(ServiceandSupport)
เป็นช่องทางสาหรับบริการหลังการขายแก่ลูกค้าเน้นในด้านการให้บริการภายในเว็บไซต์โดยสร้างการติดต่อสื่อสารขึ้นระหว่างกันเช่นการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายหรือการติดต่อระหว่างผู้ซื้อกับผู้ซื้อด้วยกันเอง

*การสร้างตราสินค้าให้เป็นที่รู้จัก(BrandAwareness)
โดยการทาการส่งข้อความด้วยเครื่องมือทางการตลาดออนไลน์ใดๆถึงกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้เกิดการรับรู้(Awareness)ทาให้ลูกค้าจดจาได้(Recognition)และระลึกถึงเป็นชื่อแรก(Recall)เมื่อต้องการจะซื้อสินค้า

*การรักษาฐานลูกค้าปัจจุบัน(CustomerRetention)
เป็นความพยายามในการสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าซึ่งยังผลให้ธุรกิจสามารถสร้างผลกาไรได้อย่างต่อเนื่องด้วยการรักษาความพอใจให้คงอยู่ซึ่งกระบวนการนี้มีความเกี่ยวเนื่องกับการบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า(CustomerRelationManagement:CRM)

*การสร้างความจงรักภักดีในตราสินค้า(BrandRoyalty)
คือการที่ลูกค้ารักและเกิดความศรัทธาในตราสินค้าของธุรกิจและยากที่จะทาให้ลูกค้าเกิดการเปลี่ยนใจที่จะไปซื้อสินค้าอื่นแทน

ขั้น 2 การกาหนดกลุ่มเป้าหมายด้วยวิธี 5W+1H
Who(ใคร)ลูกค้าคือใครมีอายุประมาณเท่าไรเพศอะไรระดับการศึกษาเป็นอย่างไรระดับรายได้หรือฐานเงินเดือนอยู่ที่เท่าใดประกอบอาชีพอะไรรสนิยมส่วนตัวเป็นอย่างไรฯลฯข้อมูลเหล่านี้ช่วยให้สามารถระบุกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจนเพื่อวางแผนการตลาดหรือสร้างสินค้าหรือบริการที่ตอบสนองต่อพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายได้ถูกต้อง
What(อะไร)อะไรคือสิ่งที่ลูกค้าต้องการเพื่อทราบอุปสงค์(demand)และความปรารถนาภายในใจ(willing)ของลูกค้าว่าสินค้าหรือบริการรูปแบบไหนที่ลูกค้าต้องการและอะไรที่จะสร้างความแตกต่างให้กับสินค้าหรือบริการจากคู่แข่งขันได้
Where(ที่ไหน)ลูกค้าอยู่ที่ไหนเป็นคาถามเชิงภูมิศาสตร์เพื่อทราบถึงสภาพแวดล้อมวัฒนธรรมภาษาและเชื้อชาติของกลุ่มเป้าหมายว่าเป็นเช่นไรเพื่อให้ทราบว่าจะหาลูกค้าได้จากไหนบ้างและที่ไหนคือที่ๆลูกค้ามักจะไปอยู่และสามารถสื่อสารกับลูกค้าได้ด้วยวิธีอะไร
When(เมื่อไร)เมื่อไรที่ลูกค้าต้องการเราเราควรทราบถึงความต้องการว่าในช่วงเวลาไหนที่ลูกค้าต้องการซื้อหรือใช้บริการและต้องการบ่อยเพียงใดซึ่งจะช่วยให้เรากาหนดและวางแผนการพยากรณ์ต่างๆให้ตรงกับความต้องการของลูกค้าได้อย่างถูกต้อง
Why(ทาไม)ทาไมลูกค้าต้องมาที่เราเป็นคาถามเชิงเหตุผลว่าเหตุใดลูกค้าถึงได้เข้ามาซื้อสินค้าจากเราอาจเป็นเงื่อนไขในเรื่องของราคาที่ถูกกว่าคู่แข่งหรือสินค้ามีคุณภาพมากกว่าความสะดวกสบายบริการหลังการขายที่ดีกว่า
How(อย่างไร)เราสามารถเข้าถึงลูกค้าได้อย่างไรเป็นคาถามเชิงวิธีการหรือหนทางในการรักษาฐานลูกค้าเก่าหรือเพิ่มยอดขายจากลูกค้ารายใหม่ซึ่งควรจะมีการวางแผนและกาหนดวิธีการที่จะเข้าถึงลูกค้าได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพมากที่สุด

ขั้น 3 วางแผนงบประมาณ มีเงินเท่าไร จะใช้เท่าไร
เป็นการประเมินถึงจานวนเงินเพื่อใช้ในการทางานว่ามีเท่าใดซึ่งถือเป็นค่าใช้จ่ายทางบัญชีที่เจ้าของธุรกิจต้องทราบว่าจะดาเนินธุรกิจให้ได้ตามแผนต้องใช้เงินลงทุนแต่ละส่วนเป็นเงินเท่าใดและได้มาจากแหล่งใดหลักในการทางบฯมีด้วยกันหลายวิธีเช่น
#ทางบประมาณตามสัดส่วนจากการขาย
#ทางบประมาณตามสภาพตลาด
#ทางบประมาณตามวัตถุประสงค์
#ทางบประมาณตามเงินทุน

ขั้น 4กาหนดแนวความคิดและรูปแบบ หาจุดขาย ลูกเล่น
เป็นการสร้างแนวความคิดที่แปลกใหม่น่าสนใจให้กับเว็บไซต์โดยเป็นการสร้างจุดเด่นหรือจุดที่แตกต่างกับเว็บอื่นๆทาให้เกิดเอกลักษณ์ของเว็บไซต์เราซึ่งเป็นปัจจัยที่ทาให้ผู้เยี่ยมชมจดจาเว็บไซต์ได้อาจจะเป็นรูปแบบการบริการที่ไม่เหมือนใครการใช้ลักษณะการออกแบบเว็บที่โดดเด่นหรือเนื้อหาในเว็บทาให้ผู้อ่านสนใจแต่ทั้งนี้ทั้งนั้นต้องยืนอยู่บนเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่เราตั้งใจไว้เป็นสาคัญ

ขั้น 5 การวางแผนกลยุทธ์ และสื่อ ช่วงเวลา
เป็นการเลือกสรรวิธีหรือกลยุทธ์ที่ใช้สาหรับการทาการตลาดออนไลน์ว่าควรเลือกใช้สื่อรูปแบบใดดีโดยดูที่วัตถุประสงค์เป็นหลักเช่นการโฆษณาผ่านหน้าเว็บในรูปแบบต่างๆ,การตลาดผ่านระบบค้นหา,การตลาดผ่านอีเมล์,การตลาดผ่านเว็บบล็อก

ขั้น 6 การดาเนินการตามแผนที่ได้วางไว้
เทคนิคการเตรียมตัวก่อนการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ดังนี้
I.เช็คว่าพร้อมหรือยัง?ด้วยกลยุทธ์6C
II.มีเอกลักษณ์หรือจุดเด่นของเว็บไซต์เช่นแนวความคิดพื้นฐานของตัวเว็บไซต์ที่โดดเด่นมีความสอดคล้องกับตราสินค้าหรือบริการหลักของธุรกิจการออกแบบเว็บไซต์เช่นสีสันโลโก้การวางรูปแบบและเนื้อหามีความเป็นเอกลักษณ์
III.การสร้างช่องทางการเก็บข้อมูลผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์เช่นการลงทะเบียนสมาชิกแบบสอบถามออนไลน์บริการการรับข่าวสารทางอีเมล์เป็นต้น

ขั้น 7 วัดผลและประเมินผลลัพธ์
เป็นวิธีการวัดผลความสาเร็จจากการทาแผนการตลาดว่ามีผลลัพธ์เช่นไรการดาเนินการทางการตลาดประสบความสาเร็จตามที่กาหนดมากน้อยเพียงใดโดยประเมินจากการเติบโตของยอดขายส่วนแบ่งทางการตลาดภาพลักษณ์ที่ลูกค้ามีต่อสินค้าหรือบริการกาไรฯลฯเพื่อเป็นข้อมูลสาคัญในการตัดสินใจการดาเนินตามแผนธุรกิจต่อไป

C ontent(ข้อมูล)

ข้อมูลใหม่สดเสมอ
ข้อมูลมีความถูกต้อง
อ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูล
รูปแบบของการหาข้อมูลมาไว้ในเว็บไซต์มี 3 รูปแบบใหญ่ๆ ได้แก่
ทางผู้จัดทาเว็บไซต์เป็นคนผลิตข้อมูลขึ้นมา (Self Feeding)
ข้อมูลมากจากผู้เข้ามาใช้บริการ (User Feeding)
ข้อมูลมากจากพันธมิตร (Partner Content)

C ommunity(ชุมชน,สังคม)
Community คือ การรวมตัวของกลุ่มคนจานวนหนึ่ง ที่อยู่ร่วมกันภายใต้สถานๆ หนึ่ง โดยมการพูดคุย หรือกิจกรรมร่วมกันภายในสถานที่แห่งนั้น
องค์ประกอบในการสร้าง Community ในเว็บไซต์ของคุณ
1.เว็บบอร์ด (WebBoard)
2. พิ๊กโพสต์(Pic Post)
3. ไดอารี่ หรือ บล็อก (Diary or Blog)
4. ข่าว (News) + Web Board
5. รวมลิงค์ เว็บไซต์
6. ห้องแช๊ตรูม(ChatRoom)

C ommerce(การค้าขาย)
การหาสินค้ามาขายผ่านหน้าเว็บ
การซื้อสินค้ามาเก็บไว้
การนาสินค้าจากแคตตาล๊อกมาขาย (จับเสือมือเปล่า)
การนาสินค้าจากพันธมิตรมาขายwww.thaisecondhand.com/promotion
Commerce หรือ การทาการค้าขายผ่านเว็บไซต์ ซึ่งสามารถสร้างรายได้ให้กับเว็บไซต์ได้ เช่นเว็บข้อมูล (Content), เว็บโปรแกรมมิ่ง, เว็บ Community, หรือเว็บโป๊ก็สามารถทา E-Commerce


C ustomization(การปรับให้เหมาะสม)
C -Customizationคือ รูปแบบการให้บริการที่สามารถปรับแต่งการใช้งานให้มีความเหมาะสมกับ ผู้ใช้บริการภาย ในเว็บไซต์
•การปรับแต่งข้อมูลเพื่อการบริการ (Service)http://my.MSN.com
•การปรับแต่งสินค้าเพื่อการค้า (Commerce)www.Nike.com
•การเก็บข้อมูลของลูกค้าเพื่อการนาเสนอข้อมูล (Information) www.Amazon.com

C ommunication, Channel (การสื่อสารและช่องทาง)
Communication คือ ช่องทางในการสื่อสารและติดต่อกับผู้ใช้บริการในเว็บไซต์ของคุณ จริงๆ แล้วสิ่งที่คุณมีอยู่ในเว็บไซต์คุณคือ ข้อมูล (Content) หรือ บริการ (Service) ซึ่งเป็นเพียงแค่ “ช่องทาง” ในการ “เข้าถึง” ข้อมูลหรือบริการเหล่านั้น

C onvenience(สะดวกสบาย)
การใช้งานง่าย (Usability)1."ดู" ง่าย
•การวางรูปแบบ (Layout)
•รูปภาพ และไอค่อน ( Image & Icon)
•ขนาดตัวอักษร (Font) และการจัดหน้า
•การออกแบบระบบนาทางที่ดี (Navigation)
•มีSite map ในเว็บ
2."เรียนรู้" ได้ง่าย (easy to learn)
3. "จดจา" วิธีการใช้งานได้ง่าย
4."เข้าถึง" ได้ง่าย
5.ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ (efficient to use)
6.การเจอปัญหาและการแก้ไข (Help & FAQ)













CHAPTER 4 E-COMMERCE

CHAPTER 3 E-COMMERCE

▪ความหมายของธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
▪กรอบการทำงานและโครงสร้างพื้นฐานของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
▪การประยุกต์ใช้การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
▪การสนับสนุนและการจัดการการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
▪ประเภทของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
▪ข้อแตกต่างระหว่างการทำธุรกิจทั่วไปกับการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
▪ข้อดีและข้อเสียของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (ELECTRONIC BUSINESS)

ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Business)
คือกระบวนการดำเนินธุรกิจโดยอาศัยเทคโนโลยีเครือข่ายที่เรียกว่าองค์การ
เครือข่ายร่วม (Internetworked Network) ไ ม่ว่าจะเป็นการพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce) การติดต่อสื่อสารและการทำงาน

ร่วมกัน หรือแม้แต่ระบบธุรกิจภายในองค์กร

การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (ELECTRONIC COMMERCE)

▪พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ การดำเนินธุรกิจ โดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
(ECRC Thailand,1999)
!
▪พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ การผลิต การกระจาย การตลาด การขาย
หรือการขนส่งผลิตภัณฑ์ และบริการโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (WTO,1998)

▪พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ ขบวนการที่ใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อทำ
ธุรกิจที่จะบรรลุเป้าหมายขององค์กร พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ใช้เทคโนโลยี
ประเภทต่าง ๆ และครอบคลุมรูปแบบทางการเงินทั้งหลาย เช่น ธนาคาร
อิเล็กทรอนิกส์, การค้าอิเล็กทรอนิกส์, อีดีไอหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์, ไ ปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์, โ ทรสาร, คะตะล๊อกอิเล็กทรอนิกส์,
การประชุมทางไกล และรูปแบบต่าง ๆ ที่เป็นข้อมูลระหว่างองค์กร (ESCAP,

1998)

▪พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ ธุรกรรมทุกรูปแบบที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมเชิง
พาณิชย์ ทั้งในระดับองค์กร และส่วนบุคคล บนพื้นฐานของการประมวล และ

การส่งข้อมูลดิจิทัล ที่มีทั้งข้อความ เสียง และภาพ (OECD,1997)


▪สรุป
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic commerce) คือ การทำธุรกรรมผ่านสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ ใ นทุกช่องทางที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การซื้อขายสินค้าและ
บริการ การโฆษณาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไ ม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ โ ทรทัศน์ วิทยุ
หรือแม้แต่อินเทอร์เน็ต เป็นต้น โ ดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดค่าใช้จ่าย และเพิ่ม
ประสิทธิภาพขององค์กร โ ดยการลดบทบาทองค์ประกอบทางธุรกิจลง เช่น
ทำเลที่ตั้ง อาคารประกอบการ โกดังเก็บสินค้า ห้องแสดงสินค้า รวมถึงพนักงาน
ขาย พนักงานแนะนำสินค้า พนักงานต้อนรับลูกค้า เป็นต้น จึงลดข้อจำกัดของ

ระยะทาง และเวลาลงได้


การประยุกต์ใช้ (E-commerce Application)

❖ การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (E-Retailing)
❖ การประมูลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Auctions)
❖ การบริการอิเล็กทรอนิกส์ (E-Service)
❖ รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government)
❖ การพาณิชย์ผ่านระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ (M-Commerce : Mobile Commerce)

โครงสร้างพื้นฐาน (E-Commerce Infrastructure)

❖ องค์ประกอบหลักสำคัญด้านเทคโนโลยีพื้นฐาน ที่จะนำมาใช้เพื่อการพัฒนาระบบ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยแบ่งออกเป็น 4 ส่วนได้แก่
❖ระบบเครือข่าย (Network)
❖ช่องทางการติดต่อสื่อสาร (Chanel Of Communication)
❖การจัดรูปแบบและการเผยแพร่เนื้อหา (Format & Content Publishing)

❖การรักษาความปลอดภัย (Security)


การสนับสนุน (E-Commerce Supporting)
ส่วนของการสนับสนุนจะทำหน้าที่ช่วยเหลือและสนับสนุนส่วยของการประยุกต์
ใช้งานให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เปรียบเสมือนเสาหลักของบ้าน ที่ทำ
หน้าที่ค้ำจุนให้หลังคาบ้านอย่างไรก็ตามเสาบ้านก็ต้องอาศัยพื้นบาน ใ นส่วนของ
โครงสร้างพื้นฐาน เพื่อที่จะยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคงต่อไป สำหรับส่วนสนับสนุน

ของ E-Commerce มีองค์ประกอบ 5 ส่วนด้วยกันดังต่อไปนี้

1. การพัฒนาระบบงาน E-Commerce Application Development
2. การวางแผนกลยุทธ์ E-Commerce Strategy
3. กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce Law
4. การจดทะเบียนโดเมนเนม Domain Name Registration

5. การโปรโมทเว็บไซต์ Website Promotion








ประเภทของ E-Commerce
กลุ่มธุรกิจที่ค้ากำไร (Profits Organization)
1. Business-to-Business (B2B)
2. Business-to-Customer (B2C)
3. Business-to-Business-to-Customer (B2B2C)
4. Customer-to-Customer (C2C)
5. Customer-to-Business (C2B)

6. Mobile Commerce

กลุ่มธุรกิจที่ไม่ค้ากำไร (Non-Profit Organization)
1. Intrabusiness (Organization) E-Commerce
2. Business-to-Employee (B2E)
3. Government-to-Citizen (G2C)
4. Collaborative Commerce (C-Commerce)
5. Exchange-to-Exchange (E2E)

6. E-Learning

E-Commerce Business Model

ธุรกิจที่หารายได้จากค่าสมาชิก
ตัวอย่างของธุรกิจที่หารายได้จากค่าสมาชิกในการศึกษาได้แก่ AOL (ธุรกิจ ISP), Wall Street Journal
(หนังสือพิมพ์), JobsDB.com (ข้อมูลตลาดงาน), และ Business Online (ข้อมูลบริษัท) ธุรกิจในกลุ่มนี้หลายราย
เป็นธุรกิจที่ได้กำไรแล้วเนื่องจากรายได้จากค่าสมาชิกเป็นรายได้ที่มีความมั่นคงกว่ารายได้จากแหล่งอื่นเช่น รายได้จาก
การโฆษณา หรือค่านายหน้า อย่างไรก็ตาม ปัจจัยในความสำเร็จของธุรกิจที่จะสามารถหารายได้จากค่าสมาชิกได้ก็คือ
การมีสารสนเทศหรือบริการที่มีคุณภาพที่ดี พอที่จะทำให้ลูกค้ายอมจ่ายค่าสมาชิกดังกล่าว เช่น ต้องมีสารสนเทศที่แตก
ต่างจากผู้ประกอบการรายอื่น (Wall Street Journal หรือ Business Online) หรือใช้กลยุทธ์ทางการตลาดในการ
รักษาฐานลูกค้าไว้ เช่น AOL รักษาฐานลูกค้าของตนด้วยหมายเลขอีเมล์หรือหมายเลข ICQ ซึ่งลูกค้าที่ใช้บริการไปแล้ว
ระยะหนึ่งไม่ต้องการเปลี่ยนแปลง ธุรกิจที่มีรายได้จากสมาชิกยังสามารถใช้ฐานลูกค้าของตนที่มีอยู่ขยายต่อ ไปยังธุรกิจ

ต่อเนื่องอื่นๆ เช่น AOL ใช้ฐานสมาชิกของตนในการหารายได้จากการโฆษณาออนไลน์ และธุรกิจค้าปลีก

ธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน
ธุรกิจโครงสร้างพื้นฐานเป็นธุรกิจ E-Commerce ที่ให้บริการแก่ธุรกิจ E-Commerce อื่น ตัวอย่าง
ของธุรกิจพื้นฐานในการศึกษา ได้แก่ Consonus (ธุรกิจศูนย์ข้อมูล และ ASP), Pay Pal (ธุรกิจชำระ
เงินออนไลน์), Verisign (ธุรกิจออกใบรับรองดิจิตัล), BBBOnline (ธุรกิจรับรองการประกอบธุรกิจที่
ได้มาตรฐาน), Siamguru (บริการเสิร์ชเอนจิ้น), และ FedEx (บริการจัดส่งพัสดุ) ปัจจัยในความ
สำเร็จของธุรกิจในกลุ่มนี้จะขึ้นอยู่กับการขยายตัวของตลาด E-Commerce โ ดยรวม กล่าวคือ หาก

เศรษฐกิจ อยู่ในช่วงขยายตัว และมีผู้ประกอบการ E-Commerce

รกิจค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์
ธุรกิจค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์เป็นรูปแบบของธุรกิจ E-Commerce ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีที่สุด เมื่อกล่าวถึงธุรกิจ E-Commerce คน
ทั่วไป จึงมักจะนึกถึงธุรกิจในกลุ่มนี้ ตัวอย่างของธุรกิจค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (Online Retailer) ใ นกรณีศึกษาได้แก่
Amazon (หนังสือ), 7dream (ของชำ), EthioGift (ของขวัญวันเทศกาลของเอธิโอเปีย), 1-800-Flowers (ดอกไม้),
Webvan (ของชำ), Tony Stone Image (รูปภาพ), และ Thaigem (อัญมณี) รายได้หลักของธุรกิจค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์มา
จากการจำหน่ายสินค้า ใ นช่วงแรกผู้ประกอบธุรกิจค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ มักคาดหวังว่า การประกอบการโดยไม่ต้องมีร้านค้า

ทางกายภาพจะช่วยให้ตนมีต้นทุนที่ต่ำ และสามารถขายสินค้าให้แก่ ลูกค้าในราคาที่ต่ำกว่าคู่แข่งได้


ธุรกิจที่หารายได้จากโฆษณา
ในช่วงหลังธุรกิจ E-Commerce ที่หวังหารายได้จากการโฆษณาซบเซาลงไปมาก เนื่องจากการเข้าสู่ตลาดดังกล่าว
ทำได้ง่าย ทำให้จำนวนพื้นที่โฆษณาเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลทำให้เกิดการแข่งขันอย่างรุนแรง และมีผลกระทบ
ต่อรายได้ของผู้ประกอบการแทบทุกราย นอกจากนี้ การจัดทำเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาดึงดูดให้ผู้ใช้เข้ามาใช้ต้องอาศัยการ
ลงทุนสูง และจำเป็นต้องทำการตลาดและการประชาสัมพันธ์ผ่าน สื่อต่างๆมาก ปัจจัยในความสำเร็จของธุรกิจใน

กลุ่มนี้จึงได้แก่การสร้างจุดเด่นที่แตกต่างจากธุรกิจในแนวเดียวกัน ใ นขณะที่สามารถควบคุมต้นทุนได้


บริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
ตัวอย่างของบริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) ใ นกรณีศึกษา ไ ด้แก่ MERX (การให้ข้อมูลการ
ประกวดราคาของโครงการรัฐ), Buyers.Gov (การจัดซื้อจัดจ้างของรัฐ) และ eCitizen (การให้บริการของรัฐแก่
ประชาชน) บริการในกลุ่มนี้มักมีจุดประสงค์เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนและธุรกิจในการติดต่อกับภาค
รัฐ (eCitizen) เพิ่มความโปร่งใสในการดำเนินงาน (MERX) เพิ่มประสิทธิภาพ และลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ

ของภาครัฐ (Buyers.Gov) เป็นต้น

ธุรกิจตลาดประมูลออนไลน์
ธุรกิจในกลุ่มนี้มีรูปแบบการหารายได้ทั้งในแบบ B2C ซึ่งหารายได้จากการจำหน่ายสินค้าส่วนเกินของบริษัทโดยไม่
เกิดความขัดแย้งกับช่องทางเดิม นอกจากนี้ตลาดประมูลออนไลน์ยังช่วยให้ธุรกิจสามารถหาราคาที่เหมาะสมของ
สินค้า ตัวอย่างของธุรกิจตลาดประมูลออนไลน์ แบบ B2C ใ นกรณีศึกษาได้แก่ Egghead (สินค้าอิเล็กทรอนิกส์)
และ Priceline (สินค้าท่องเที่ยว) เป็นต้น รูปแบบธุรกิจตลาดประมูลออนไลน์อีกประเภทหนึ่งคือแบบ C2C ธุรกิจ
ในกลุ่มนี้จะหารายได้จากค่านายหน้าในการให้บริการตลาดประมูลซึ่งช่วยจับคู่ผู้ซื้อและผู้ขายเข้าด้วยกัน ตัวอย่าง

ของธุรกิจตลาดประมูลดังกล่าวนี้คือ Ebay

ธุรกิจตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์
ตัวอย่างของธุรกิจตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ (E-Marketplace) ใ นกรณีศึกษาได้แก่ PaperExchange (กระดาษ),
FoodMarketExchange (อาหาร), DoubleClick (แบนเนอร์ในอินเทอร์เน็ต), Half.com (สินค้าใช้แล้ว), และ
Translogistica (ขนส่งทางบก) ธุรกิจในกลุ่มนี้จะหารายได้จากค่านายหน้าในการให้บริการตลาดกลางซึ่งช่วยจับคู่
ผู้ซื้อและผู้ขายเข้าด้วยกัน ในช่วงแรกธุรกิจตลาดกลางมักดำเนินการโดยผู้บริหารตลาดที่เป็นอิสระจากผู้ซื้อหรือผู้
ขาย (Independent Market Maker) อย่างไรก็ตามต่อมาพบว่า ผู้บริหารตลาดอิสระมักไม่สามารถชักชวนผู้ซื้อ
หรือผู้ขายให้เข้าร่วมในตลาดจนมีจำนวนที่มากพอได้


ข้อดีและข้อเสียของ E-Commerce

1.สามารถเปิดดำเนินการได้ตลอด 24 ชั่วโมง
2.สามารถดำเนินการค้าขายได้อย่างอิสระทั่วโลก
3.ใช้ต้นทุนในการลงทุนต่ำ
4.ไม่ต้องเสียค่าเดินทางในระหว่างการดำเนินการ
5.ง่ายต่อการประชาสัมพันธ์ และยังสามารถประชาสัมพันธ์ในครั้งเดียวแต่ไปได้ทั่วโลก
6.สามารถเข้าถึงลูกค้าที่ใช้บริการอินเทอร์เนตได้ง่าย
7.ประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาสำหรับผู้ซื้อและผู้ขาย
8.ไม่จำเป็นต้องเปิดเป็นร้านขายสินค้าจริงๆ


ข้อเสีย
1.ต้องมีระบบการรักษาความปลอดภัยของระบบที่มีประสิทธิภาพ
2.ไม่สามารถเข้าถึงลูกค้าที่ไม่ได้ใช้บริการอินเทอร์เนตได้
3.ขาดความเชื่อมั่นในเรื่องการชำระเงินผ่านทางบัตรเครดิต
4.ขาดกฎหมายรองรับในเรื่องการดำเนินการธุรกิจขายสินค้าแบบออนไลน์
5.การดำเนินการทางด้านภาษียังไม่ชัดเจน






Chapter 3 E-business strategy

Chapter 3

            E-business strategy

What is strategy?
• Defines how we will meet our objectives.
• Sets allocation of resources to meet goals.
• Selects preferred strategic options to compete within a market.
• Provides a long-term plan for the development of the

organization.

What is e-Business strategy?
Strategy defines the future direction and actions of an organization or part of an organization. Johnson and Scholes (2006) define corporate strategy as: ◦ the direction and scope of an organization over the long-term: which achieves advantage for the organization through its configuration of resources
within a changing environment to meet the needs of markets and to fulfil stakeholder expectations.

What is e-Business strategy?
E-business strategy : Definition of the approach by which applications of internal and external electronic communications can support and influence corporate strategy.

Relationship between e-business strategy and other strategies





A genericstrategy process model






Dynamic e-business strategy model




Elements of strategic situation analysis for the e-business


Elements of strategic objective setting for the e-business


Elements of strategy definition for the e-business

Elements of strategy implementation for the e-business









CHAPTER 2 : E-BUSINESS INFRASTRUCTURE

CHAPTER 2 : E-BUSINESS INFRASTRUCTURE

LEARNING OUTCOMES
*Outline the hardware and software technologies used to build an e-business infrastructure within an organization and with its partners

*Outline the hardware and software requirements necessary to enable employee access to the Internet and hosting of e-commerce services.

TYPICAL PROBLEMS
*Web site communications too slow.
*Web site not available.
*Bugs on site through pages being unavailable or information typed in forms not being executed.
*Ordered products not delivered on time.
*E-mails not replied to.

*Customers’ privacy or trust is broken through security problems such as credit cards being stolen or addresses sold to other companies.

HARDWARE AND SOFTWARE TECHNOLOGIES USED TO BUILD AN E-BUSINESS


WHAT IS THE INTERNET ?

“TheInternet,sometimescalledsimply"theNet,"isaworldwidesystemofcomputernetworks-anetworkofnetworksinwhichusersatanyonecomputercan,iftheyhavepermission,getinformationfromanyothercomputer”
-whatis.com
“Aglobalnetworkconnectingmillionsofcomputers.Morethan100countriesarelinkedintoexchangesofdata,newsandopinions.
-webopedia.com
“is logically linked together by a globally unique address space based on the Internet Protocol (IP) or its subsequent extensions/follow-ons”



อินเทอร์เน็ต .......... ?


อินเทอร์เน็ต (อังกฤษ: Internet) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลาย ๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโทคอล(protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ในหลาย ๆ ทาง อาทิ อีเมล เว็บบอร์ด และสามารถสืบค้นข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ รวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมมาใช้ได้


HOW BIG IS THE INTERNET?
Over 1 billion Internet users worldwide
How big the infrastructure they accessing?
Measured by number of servers
Number of pages indexed by search engines


INTERNET USERS PER 100 INHABITANTS



THE NETCRAFTINDEX OF NUMBER OF SERVERS



INTRANET AND EXTRANET

Intranet : A private network within a single company using Internet standards to enable employees to share information
Extranet:Formedbyextendinganintranetbeyondacompanytocustomers,suppliersandcollaborators


THE RELATIONSHIP BETWEEN INTRANETS, EXTRANETS AND THE INTERNET


BUSINESS BENEFITS OF EXTRANET
*Information sharing
*Cost reduction
*Order processing and distribution
*Customer service

PREMIER DELL.COM



QUESTIONS ON EXTRANET?

*Are the levels of usage sufficient?
*Is it effective and efficient?
*Who has ownership of the extranet?
*What are the levels of service quality?
*Is the quality of information adequate?


FIREWALLS

Firewall positions within the e-business infrastructure of the B2B company



INFORMATION EXCHANGE BETWEEN A WEB BROWSER AND WEB SERVER









วันเสาร์ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

Chapter 1 Introduction to E-Business and E-Commerce

Chapter 1

Introduction to E-Business and E-Commerce


ปัจจุบัน มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี อาทิเช่น internetWWW และ การสื่อสารแบบไร้สาย ในองค์กรธุรกิจมานานมากกว่า 15 ปี นับตั้งแต่ มีการพัฒนาเว็บไซต์ขึ้นครั้งแรก โดย Sir Tim Berners-Lee ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1991ซึ่งการปรับใช้ เทคโนโลยีเหล่านี้ ได้ สร้างโอกาส มากมายสาหรับการสร้างนวัตกรรม ทาง e-Business

โลกเสมือน (Virtual World)คือ การจาลองสภาพแวดล้อม ที่สามารถตอบสนองต่อการใช้งานของผู้ใช้หลายคน พร้อมๆ กัน ผ่านเครือข่ายออนไลน์ นั่นหมายความว่า โลกเสมือนจะต้องรองรับ การใช้งานของผู้ใช้ได้ตลอดเวลา (24ชั่วโมงต่อวัน)
Location Based Services (LBS)เป็นบริการอย่างหนึ่งที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีไร้สายที่ทาให้บุคคลหรือองค์กรใดๆระบุตาแหน่งที่อยู่ของผู้ใช้อุปกรณ์ไร้สายได้อย่างแม่นยา ลักษณะบริการที่พบเห็นบ่อยคือคาถาม “ตอนนี้เราอยู่ที่ไหน?” “จะไปที่สถานที่ที่ต้องการได้อย่างไร?” “มีอะไรอยู่แถวนี้บ้าง?” ซึ่งเป็นการค้นหาสถานที่ คน สัตว์ หรือ สิ่งของ
บริการเครือข่ายสังคม (social network service) เป็นรูปแบบของเว็บไซต์ ในการสร้างเครือข่ายสังคม สาหรับผู้ใช้งานในอินเทอร์เน็ต เขียนและอธิบายความสนใจ และกิจการที่ได้ทา และเชื่อมโยงกับความสนใจและกิจกรรมของผู้อื่น ในบริการเครือข่ายสังคมมักจะประกอบไปด้วย การแช็ต ส่งข้อความ ส่งอีเมล วิดีโอ เพลง อัปโหลดรูป บล็อก การทางานคือ คอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลพวกนี้ไว้ในรูปฐานข้อมูล sqlส่วน video หรือ รูปภาพ อาจเก็บเป็น ไฟล์ก็ได้ บริการเครือข่ายสังคมที่เป็นที่นิยมได้แก่ ไฮไฟฟ์ มายสเปซ เฟซบุ๊ก ออร์กัต มัลติพลาย โดยเว็บเหล่านี้มีผู้ใช้มากมาย เช่น เฟสบุ๊คเป็นเว็บไซต์ที่คนไทยใช้มากที่สุด ในขณะที่ออร์กัตเป็นที่นิยมมากที่สุดในประเทศอินเดีย ปัจจุบัน บริการเครือข่ายสังคม มีผลประโยชน์คือหาเงินจากการโฆษณา การเล่นเกม
จากที่ปัจจัยที่กล่าวมาข้างต้น ทาให้รูปแบบของการดาเนินธุรกิจในปัจจุบันเปลี่ยนไป เพราะผลกระทบของการสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ธุรกิจรายใด ที่มีการปรับเปลี่ยนองค์กร ที่นาเทคโนโลยีความก้าวหน้าของการสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ มาปรับเปลี่ยนกระบวนการขั้นตอนในการดาเนินธุรกิจ องค์กรนั้นย่อมอยู่รอดได้ในในปัจจุบัน

ความแตกต่างระหว่าง e-commerceกับe-business
*พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือการดาเนินธุรกิจ โดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ECRC Thailand,1999)
*พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือการผลิต การกระจาย การตลาด การขาย หรือการขนส่งผลิตภัณฑ์ และบริการโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (WTO,1998)
*พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือขบวนการที่ใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อทาธุรกิจที่จะบรรลุเป้าหมายขององค์กร พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ใช้เทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ และครอบคลุมรูปแบบทางการเงินทั้งหลาย เช่น ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์, การค้าอิเล็กทรอนิกส์, อีดีไอหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์, ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์, โทรสาร, คะตะล้อกอิเล็กทรอนิกส์, การประชุมทางไกล และรูปแบบต่าง ๆ ที่เป็นข้อมูลระหว่างองค์กร (ESCAP,1998)


สรุปได้ว่า e-commerce คือพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic commerce) คือ การทาธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในทุกช่องทางที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การซื้อขายสินค้าและบริการ การโฆษณาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ โทรทัศน์ วิทยุ หรือแม้แต่อินเทอร์เน็ต เป็นต้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดค่าใช้จ่าย และเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร

Electronic business (e-business)
All electronically mediated information exchanges, both within an organization and with external stakeholders supporting the range of business processes.
E-business คืออะไร
e-Business นั้น คือ การดาเนินกิจกรรมทาง “ธุรกิจ”ต่างๆ ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์การใช้คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารและอินเทอร์เน็ต เพื่อทาให้กระบวนการทางธุรกิจ มีประสิทธิภาพ และตอบสนองความต้องการของคู่ค้า และลูกค้าให้ตรงใจ และรวดเร็วและเพื่อลดต้นทุน และขยายโอกาสทางการค้า และการบริการ เมื่อเข้าสู่ยุคดิจิทัลจะมีคาศัพท์ที่ได้ยินบ่อยๆ อาทิ
BI=Business Intelligence:การรวบรวมข้อมูลข่าวสารด้านตลาด ข้อมูลลูกค้า และ คู่แข่งขัน
EC=E-Commerce:เทคโนโลยีที่ช่วยทาให้เกิดการสั่งซื้อ การขาย การโอนเงินผ่านอินเทอร์เน็ต
CRM=Customer Relationship Management:การบริหารจัดการ การบริการ และการสร้างความสัมพันธ์ที่ทาให้ลูกค้าพึงพอใจกับทั้งสินค้า บริการ และ บริษัท –ระบบ CRM จะใช้ไอทีช่วยดาเนินงาน และ จัดเตรียมข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการบริการลูกค้า
SCM=Supply Chain Management:การประสาน ห่วงโซ่ทางธุรกิจ ตั้งแต่แหล่งวัตถุดิบ ผู้ผลิต ผู้จัดส่ง ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก จนถึงมือผู้บริโภค
ERP=Enterprise Resource Planning:กระบวนการของสานักงานส่วนหลัง และ การผลิต เช่น การรับใบสั่งซื้อการจัดซื้อ การจัดการใบส่งของ การจัดสินค้าคงคลัง แผนและการจัดการการผลิต–ระบบ ERP จะช่วยให้ประบวนการดังกล่าวมีประสิทธิภาพและลดต้นทุน

The distinction between buy-side and sell side e-Commerce


Definition of the relationship between e-Commerce and e-Business




The relationship between Intranets, Extranets and The Internet




The Internet
The Internet is a global system of interconnected computer networks that use the standard Internet protocol suite (TCP/IP) to serve several billion users worldwide. It is a network of networks that consists of millions of private, public, academic, business, and government networks, of local to global scope, that are linked by a broad array of electronic, wireless, and optical networking technologies. The Internet carries an extensive range of information resources and services, such as the inter-linked hypertext documents of the World Wide Web (WWW), the infrastructure to support email, and peer-to-peer networks.