วันอาทิตย์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

บทที่ 9 E-Government

บทที่ 9 E-Government

ประวัติความเป็นมา

 การก้าวไปสู่ e-government จะทำให้เกิดการเปลี􀀫ยนแปลงในกระบวนการทำงาน และการให้บริการของภาครัฐเพื่อให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น กว่าเดิม จะเห็นได้ว่าประเทศต่างๆทั่ว โลกต่างก็ให้ความสำคัญกับการก้าวไปสู่การเป็น
e-government แ ล ะ มี ก า ร ป ร ะ ก า ศ น โ ย บ า ย ใ น เ รื่อ ง นี้อ ย่ า ง เ ป็ น ท า ง ก า ร ตั ว อ ย่ า ง เ ช่ น สหราชอาณาจักร ประกาศว่าภายในปี ค.ศ. 2005 ประชากรทุกคนสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ ไม่ว่าจะเข้าจากทื่บ้าน หรือจุดให้บริการในชุมชน ก็ตาม รวมทั้งการบริการของภาครัฐทุกอย่างจะทำผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในขณะที่สิงคโปร์เองก็ประกาศว่าภายในปี ค.ศ. 2001 counter services ของรัฐ 100% จะเป็นการให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ ออสเตรเลียระบุว่ารัฐจะให้บริการที่เหมาะสมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ อันหมายถึงผ่านทางอินเทอร์เน็ตภายในปี ค.ศ. 2001 ส่วนแคนาดามีเป้าหมายว่าบริการของรัฐทุกอย่างจะเป็นแบบ online ภายในปี ค.ศ.2004 โดยมีบริการหลักบางอย่างสามารถให้บริการได้ก่อนในปี ค.ศ. 2000 สำหรับเนเธอร์แลนด์มีเป้าหมายว่า 20%ของบริการของรัฐสามารถให้ online ได้ในปี ค.ศ. 2002 สหรัฐอเมริกาซึ่งถือเป็นผู้นำด้านเทคโนโลยีเองก็กำหนดเป้าหมายไว้ว่าจะให้บริการต่างๆ และบริการด้านข้อมูลของภาครัฐผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ภายในปี ค.ศ. 2003 แต่
ประเทศซึ่งอาจเป็นแชมป์ e-government เร็วที่สุด เนื่องจากกำหนดไว้ว่าในช่วงสิ้นปี ค.ศ. 2000 นี้ประชาชนจะสามารถเข้าถึงบริการและเอกสารของรัฐได้ทางอิเล็กทรอนิกส์ คือ ประเทศฝรั่งเศส

สำหรับประเทศไทย ในเรื่องการบริหารและการบริการของรัฐแก่ประชาชน มีการกล่าวถึง ตั้งแต่ในกฎหมายสูงสุดของประเทศ คือ รัฐธรรมนูญฯ ในมาตรา 78 หรือแผนสภาพัฒน์ฯ ฉบับที่8 ที่กล่าวถึงการนำไอทีมาใช้เพื่อเชื่อมโยง ระหว่างหน่วยงานของรัฐกับภาคเอกชน เพื่อการบริหารและการบริการที่มีประสิทธิภาพนอกจากนี้ในแผนไอทีแห่งชาติเองก็ระบุว่าหน่วยงานของรัฐต้องลงทุนให้พร้อม
ด้วยไอที และบุคลากรที่มีศักยภาพในการใช้ไอที ในแผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐก็ได้กำหนดกิจกรรมหนึ่งที่ทุกส่วนราชการต้องดำเนินการไว้ในแผนหลักเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกิจและวิธีการบริหารของภาครัฐว่า การพัฒนาให้มีระบบสารสนเทศของหน่วยงานกลางในภาครัฐ ตลอดจนนำเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เหมาะสมมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานภาครัฐและการให้บริการแก่ประชาชน จะเห็นว่าในระดับนโยบายนั้นมีการให้ความสำคัญในเรื่อง
นี้มาโดยตลอด


ความหมาย e-government
*e-government หรือรัฐอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วยหลักการที􀀫เป็น
แนวทาง 4 ประการคือ
1.สร้างบริการตามความต้องการของประชาชน
2.ทำให้รัฐและการบริการของรัฐเข้าถึงได้มากขึ้น
3.เกิดประโยชน์แก่สังคมโดยทั่วกัน
4.มีการใช้สารสนเทศที่ดีกว่าเดิม


* e-government คือ วิธีการบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ที่เน้นการใช้เทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเครือข่ายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของผลงานของภาครัฐ และปรับปรุงการบริการแก่ประชาชน และการบริการด้านข้อมูลเพื่อเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และทำให้ประชาชนมีส่วนร่วมกับรัฐมากขึ้น โดยการใช้เทคโนโลยีจะนำมาใช้เพื่อเพิ่มศักยภาพของการเข้าถึง และการให้บริการของรัฐโดยมุ่งเป้าไปที่กลุ่มคน 3 กลุ่ม คือ ประชาชน ภาคธุรกิจและข้าราชการเอง ผลพลอยได้ที่สำคัญที่เราจะได้รับคือความโปร่งใสที่ดีขึ้นอันเนื่องมากจากการเปิ ดเผยข้อมูลที่หวังว่าจะนำไปสู่การลดคอรัปชั่น หากเทียบกับ e-commerce แล้ว egovernmentคือ G-to-G1 Transaction และมีลักษณะเป็น intranet มีระบบความปลอดภัย เพื่อทำให้เกิดการแลกเปลี􀀫ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างหน่วยงาน
ของรัฐ ในขณะที่ e-services เทียบได้กับ B-to-G2 และ G-to-C3 Transaction ใช้
อินเทอร์เน็ตเป็นสื่อในการให้บริการ โดยภาคธุรกิจกับประชาชนคือผู้รับบริการ


e-government กับ e-services มีความเกี่ยวพันกันมาก กล่าวได้ว่า e-government เป็นพื้นฐาน ของ
e-services เพราะการให้บริการของรัฐต่อประชาชนนั้น มีความจำเป็นที่จะต้องมีเครือข่ายภายใน
ระหว่างหน่วยงานของรัฐด้วยกันเองที่มีความปลอดภัย และทำให้องค์กรสามารถแลกเปลี่ยน
สารสนเทศกันได้ การพัฒนาระบบสารสนเทศและการพัฒนาทักษะ รวมทั้งองค์ความรู้ของ
หน่วยงานเป็ นพื้นฐานสำคัญของการให้บริการของรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริการที่คาบเกี่ยวกัน
หลายหน่วยงานแต่เป็น one-stop service เป้าหมายปลายทางของ e-government ไม่ใช่การ
ดำเนินการเพื่อรัฐ แต่หากผลประโยชน์สูงสุดของการเป็น e-government คือประชาชนและภาค
ธุรกิจ e-government


* หลัก e-Government จะเป็นแบบ G2G G2B และ G2C
ระบบต้องมีความมั่นคงปลอดภัยเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานของรัฐ
ประชาชนอุ่นใจในการรับบริการและชำระเงินค่าบริการ ธุรกิจก็สามารถดำเนินการค้าขายกับหน่วยงานของรัฐด้วยความราบรื่น อินเทอร์เน็ตเป็นสื่อทาง อิเล็กทรอนิกส์ที่สำคัญในการให้บริการตามแนวทางรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์


1. รัฐ กับ ประชาชน (G2C)
เป็นการให้บริการของรัฐสู่ประชาชนโดยตรง โดยที่บริการดังกล่าวประชาชนจะสามารถดำเนินธุรกรรมโดยผ่านเครือข่ายสารสนเทศของรัฐ เช่น การชำระภาษี การจดทะเบียน การจ่ายค่าปรับ การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแทนประชาชนกับผู้ลงคะแนนเสียงและการค้นหาข้อมูลของรัฐที่ดำเนินการให้บริการข้อมูลผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น โดยที่การดำเนินการต่าง ๆ นั้น
จะต้องเป็นการทำงานแบบ Online และ Real Time มีการรับรองและการโต้ตอบที่มีปฏิสัมพันธ์

2. รัฐ กับ เอกชน (G2B)
เป็นการให้บริการขภาคธุรกิจเอกชน โดยที่รัฐจะอำนวยความสะดวกต่อภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมให้สามารถแข่งขันกันโดยความเร็วสูง มีประสิทธิภาพ และมีข้อมูลที่ถูกต้องอย่างเป็นธรรมและโปร่งใส เช่น การจดทะเบียนทางการค้า การลงทุน และการส่งเสริมการลงทุน การจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์ การส่งออกและนำเข้า การชำระภาษี และการช่วยเหลือผู้ประกอบการขนาดกลางและเล็ก

3. รัฐ กับ รัฐ (G2G)
เป็นรูปแบบการทำงานที่เปลี่ยนแปลงไปมากของหน่วยราชการ ที่การติดต่อสื่อสารระหว่างกันโดย
กระดาษและลายเซ็นต์ในระบบเดิมในระบบราชการเดิม จะมีการเปลี่ยนแปลงไปด้วยการใช้ระบบเครือข่ายสารสนเทศ และ ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือในการแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างเป็นทางการเพื่อเพิ่ม ความเร็วในการดำเนินการ (Economy of Speed) ลดระยะเวลาในการส่งเอกสารและข้อมูลระหว่างกันนอกจากนั้นยังเป็นการบูรณาการการให้บริการระหว่างหน่ววยงานภาครัฐโดยการใช้การเชื่อมต่อโครงข่ายสารสนเทศเพื่อเอื้อ

4. รัฐ กับ ข้าราชการและพนักงานของรัฐ (G2E)
เป็นการให้บริการที่จำเป็นของพนักงานของรัฐ (Employee)กับรัฐบาล โดยที่จะสร้างระบบเพื่อช่วยให้เกิดเครื่องมือที่จำเป็นในการปฏิบัติงานและการดำรงชีวิต เช่น ระบบสวัสดิการ ระบบที่ปรึกษาทางกฎหมาย และข้อบังคับในการปฏิบัติราชการ ระบบการพัฒนาบุคลากรภาครัฐ เป็นต้น









Chapter 8 e - Procurement

Chapter 8

e - Procurement

ระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e – procurement)
เป็นระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการให้บริการที่เกี่ยวข้องในกิจกรรมการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ เช่น
การตกลงราคา การสอบราคา การประกวดราคา และการจัดซื้อรวมแบบออนไลน์ รวมถึงการลง
ทะเบียนบริษัทผู้ค้า การทำ e – Catalog และการทำงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการจัดซื้อที่เป็น
Web Based Application เพื่อทำให้ระบบการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
กล่าวคือ ใช้ระยะเวลาจัดหาพัสดุน้อยลง และได้พัสดุที่มีคุณภาพในราคาที่เหมาะสม รวมทั้งเพิ่มความ

โปร่งใสของกระบวนการจัดหาและสามารถติดตามตรวจสอบกระบวนการทำงานได้


• ระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (e-Procurement) เป็นระบบสารสนเทศที่สนับสนุน
การให้บริการที่เกี่ยวข้องในกิจกรรมการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ เพื่อทำให้ระบบการจัดซื้อจัดจ้างของ
ภาครัฐ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น กล่าวคือ ใ ช้ระยะเวลาจัดหาพัสดุน้อยลง และได้พัสดุที่มีคุณภาพ ใ น
ราคาที่เหมาะสม รวมทั้งเพิ่มความโปร่งใสของกระบวนการจัดหาและสามารถติดตามตรวจสอบ
กระบวนการทำงาน
• e-Procurement หมายถึง การทำงานในแต่ละขั้นตอนของระบบ ข้อมูลจะถูกจัดส่งและจัดเก็บไปในรูป
แบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งข้อมูลเหล่านี้พร้อมที่จะถูกนำไปวิเคราะห์ต่อไป โ ดยข้อมูลครอบคลุม
ตั้งแต่การค้นหาและเลือกสินค้าจาก e-Catalog การออกใบขอสั่งซื้อ การรับและการอนุมัติใบขอสั่งซื้อ
การออกใบสั่งซื้อ การติดตามการสั่งซื้อ การตรวจรับสินค้าและการชาระเงิน
• การพัฒนาระบบ e-Procurement ของการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐในประเทศไทย ควรเป็นไปเพื่อหนุน

เสริมการปฏิรูประบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐโดยรวม

วัตถุประสงค์ในการพัฒนาระบบ e-Procurement ในประเทศไทย
• ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) จากการจัดซื้อสินค้าหรือบริการได้ตรง กับความต้องการ
ของผู้ใช้
• ความพร้อมรับผิด (Accountability) และการสร้างระบบธรรมาภิบาล(Good
Governance) โ ดยเจ้า หน้าที่ผู้รับผิดชอบระบบจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐควรต้องมี ความ
พร้อมรับผิดต่อการตัดสินใจของตน
• ความโปร่งใส (Transparency) โ ดยกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างต้องเป็นกระบวนการที่เปิด
เผยต่อสาธารณะ
• ความคุ้มค่า (Value for Money) เพื่อลดปัญหาการที่หน่วยงานรัฐมักซื้อสินค้าหรือบริการ
ในราคาที่แพงกว่าของภาคเอกชน

ความมุ่งหมาย ของ e-Procurement ในประเทศไทย
• ลดการรั่วไหลในระบบการจัดซื้อจัดจ้าง ซึ่งจะนำไปสู่การลดค่าใช้จ่ายของ ภาครัฐ และส่ง
เสริมความโปร่งใสและธรรมาภิบาล ในการบริหารราชการแผ่นดิน
• ช่วยภาครัฐในการพัฒนาระบบการจัดซื้อจัดจ้างที่มุ่งไปสู่ระบบที่มีมูลค่าเพิ่มมากขึ้นโดยลด
ทรัพยากรที่ต้องใช้ไปกับการจัดซื้อจัดจ้าง

ประโยชน์ของการพัฒนาระบบ e-Procurement
• เอกสารการยื่นประกวดราคา คำชี้แจงและคำอธิบาย และข้อมูลการตัดสิน ผลการประกวดราคาของโครงการต่าง ๆ ที่ผ่านการคัดเลือก
ไปแล้วมีความชัดเจนและครบถ้วนสมบูรณ์
• การกระจายข้อมูล (Distribution) ไ ปยังผู้ที่เกี่ยวข้องฝ่ายต่าง ๆโ ดยเฉพาะ ผู้ค้าที่จำหน่ายสินค้าหรือบริการดังกล่าวซึ่งอาจใช้วิธีการ
ต่าง ๆ เช่น การส่งเอกสารที่เกี่ยวข้องไปยังผู้ค้าโดยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail) ให้มีความรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์
• การยื่นประกวดราคาผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bid Submission) ซึ่งต้องมีการออกแบบตู้รับเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Vault) ที่มีความปลอดภัย ไ ม่สามารถเปิดได้ก่อนเวลาที่กำหนด อันเป็นกระบวนการที่โปร่งใสและตรวจสอบได้ ทุกขั้น
ตอน
• การเพิ่มความสามารถของระบบให้สูงขึ้น เพื่อให้เกิดบริการมูลค่าเพิ่ม (Value Added Service) ต่าง ๆ เช่น บริการสนับสนุนผู้ค้า
(Supplier Support System) ต่าง ๆ เช่น ระบบสนับสนุนการ จัดทำเอกสารประกวดราคา ระบบการวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ การ
บริหารห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) ที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้าง
• การเพิ่มความสามารถของระบบให้สูงขึ้น เพื่อให้เกิดบริการมูลค่าเพิ่ม (Value Added Service) ต่าง ๆ เช่น บริการสนับสนุนผู้ค้า
(Supplier Support System) ต่าง ๆ เช่น ระบบสนับสนุนการ จัดทำเอกสารประกวดราคา ระบบการวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ การ
บริหารห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) ที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้าง
การพัฒนาระบบ e-Catalog จะมีผลให้สินค้าและบริการในอนาคต ที่ส่วนราชการจัดหามีคุณภาพที่ดีในราคาที่เหมาะสมมากยิ่งขึ้น รวม
ทั้ง มีทางเลือกในการพิจารณาจัดหาพัสดุได้มากยิ่งขึ้น

e-Procurement

ขั้นตอนของระบบ e-Procurement
• ค้นหาสินค้า/บริการที่จะซื้อผ่าน E-Catalog
• เลือกหมวดสินค้าที่ต้องการจะซื้อผ่าน E-Shopping List
• จัดประกาศเชิญชวนผ่าน Web-Site
• ผู้ขายเสนอคุณสมบัติของสินค้าทางอินเตอร์เน็ต (E-RFP)
• ผู้ซื้อตรวจสอบราคากลาง (E-RFQ) และ Track Record ของผู้ขาย
• ประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Auction)
• ประกาศผล ผู้ชนะและส่งมอบ/ตรวจรับพัสดุ
• จ่ายเงินตรงด้วยระบบ E-Payment

ระบบ e–Catalog
• เป็นมาตรฐานระบบ Catalog ที่รวบรวมรายละเอียดของสินค้าและบริการ ซึ่ง
อำนวยความสะดวกให้ผู้ค้า/ผู้รับจ้าง(Supplies) ที่มีคุณสมบัติทำธุรกรรม
สามารถเข้ามา ทำการแจ้งและปรับปรุงรายการสินค้า/บริการของตนเองได้ การ
จัดการ Catalog ของผู้ค้า/ผู้รับจ้าง จะดำเนินการผ่านระบบมาตรฐานกลางโดย
สามารถ Login เข้าสู่ระบบการจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์ของภาครัฐเพื่อ
ปรับปรุงรายการสินค้า/บริการเพื่อให้
• ส่วนราชการสามารถเข้าสู่ระบบเพื่อค้นหาข้อมูลและพิจารณาสั่งซื้อจากสินค้า/
บริการจาก e-Catalog ได้ตลอดเวลา

ระบบ e-­‐RFP(Request for Proposal)และ e-­‐RFQ (Request for Quotation
เป็นระบบที่อำนวยความสะดวกในขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์โดยวิธีสอบราคาหรือวิธีตกลง
ราคา
• ค้นหาข้อมูลผู้ขาย/ผู้รับจ้างและข้อมูลคุณลักษณะเฉพาะของสินค้า/บริการ (Specification) ของผู้ค้า/ผู้รับ
จ้างที่มาลงทะเบียนไว้
• แจ้งผู้ค้า/ผู้รับจ้างที่ได้รับการคัดเลือกในขั้นต้นโดยเป็นการแจ้งผ่านระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
• การยื่นข้อเสนอ (Quotation/Proposal) ของผู้ค้า/ผู้รับจ้าง
• การคัดเลือกผู้ค้า/ผู้รับจ้างเพื่อรับงานซื้อ/จ้างจากหน่วยงานภาครัฐ
• การจัดทำใบขอซื้อ/ขอจ้าง รวมทั้งขั้นตอนการอนุมัติต่างๆ

ระบบ e– Auction ส่วนที่ 1 Reverse Auction เป็นระบบที่อำนวยความสะดวกในด้านการประมูลซื้อให้ได้ในราคาต่ำสุด ซึ่งจะใช้วิธีนี้ในกรณีที่สินค้า/บริการที่
ต้องการจัดซื้อหรือจัดจ้าง e-RFP / e-RFQ มาดำเนินการประมูลผ่านทาง Internet แบบ Real-time ตามวันและเวลาที่กำหนด โดยการประมูล
จะมี 2 แบบ คือ
!
• English Reverse Auction เป็นการประมูลที่ผู้ซื้อจะทราบสถานะของ การประมูลว่าผู้ที่เสนอราคาต่ำสุด เสนอราคาเท่าไร แต่ผู้เข้าประมูลจะ
ไม่ทราบชื่อของผู้เข้าประมูลรายอื่น ๆ
!
• Sealed Bid เป็นการประมูลที่ผู้ซื้อจะไม่ทราบสถานะของการประมูลและ ราคาต่ำสุดของผู้ยื่นประมูล การยื่นข้อเสนอราคาแบบ Sealed
Bidแบ่งเป็น 2 แบบ คือ แบบยื่นข้อเสนอได้เพียงครั้งเดียว และยื่นข้อเสนอได้หลายครั้งภายในระยะเวลาที่กำหนด

ระบบ e-­‐Data Exchange
• เป็นระบบการเชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผู้ค้า เช่น
• การตรวจสอบความเป็นนิติบุคคล โดยร่วมมือกับกรมทะเบียนการค้าและกรมสรรพกร,
• การส่งข้อมูลในการตรวจสอบจำนวนเงินงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรจากสำนักงบ
ประมาณ แผนการใช้จ่ายเงิน (Cash Management) และการสั่งจ่ายเงิน (Direct Payment)
ของกรมบัญชีกลาง!

การส่งข้อมูลตรวจสอบการเสียภาษีของผู้ค้าและผู้รับจ้าง โดยส่งข้อมูลสัญญาให้กรม
สรรพากร และสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน!
• การประกาศเชิญชวนผู้ค้าผ่าน Websiteหน่วยงานกลางที่เกี่ยวข้องได้แก่ กรมบัญชี
กลาง กรมประชาสัมพันธ์ และองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย

ข้อดีของ e-procurement ในด้านของผู้ขาย
• เพิ่มปริมาณการขาย
• ขยายตลาด และได้รับลูกค้ากลุ่มใหม่
• - ดำเนินการบริหารการขาย และกิจกรรมทางการตลาดในต้นทุนต่ำ
• - เวลาของกระบวนการสั้นลง
• - พัฒนาให้พนักงานมีประสิทธิภาพดีขึ้น
• - กระบวนการประมูลเป็นไปในทิศทางเดียวกัน



ข้อดีของ e-Procurement
จะช่วยให้องค์กรสามารถลดงานที่ไม่ก่อให้เกิดคุณค่ากับองค์กรลง และทาให้ฝ่ายจัดซื้อมีเวลา
วางแผนในส่วนของการจัดซื้อเชิงกลยุทธ์ (Strategic sourcing) ซึ่งเป็นหน้าที่ที่สำคัญมากขึ้น






CHAPTER 7Electronic Supply Chain Management

CHAPTER 7
Electronic Supply Chain Management

Supply Chain Management
นับตั้งแต่เกิดวิกฤตเศรษฐกิจการดาเนินธุรกิจต่างๆเกือบทุกสาขาได้หยุดชะงักหรือชะลอตัวลงหรือแม้กระทั่งปิดกิจการไปเนื่องจากกิจการส่วนใหญ่ประสบปัญหาการขาดสภาพคล่องทางการเงินยอดขายลดลงทาให้มีสินค้าคงเหลืออยู่เป็นจานวนมากต้นทุนการผลิตปรับตัวสูงขึ้นรวมถึงพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปทาให้ผู้ผลิตจาเป็นต้องหันมาพัฒนาผลิตภัณฑ์และกาหนดกลยุทธ์ต่างๆเพื่อรองรับกลุ่มลูกค้าและการแข่งขัน

การใช้กลยุทธ์เดิมๆ คือ การเร่งพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์และบริการให้มีความโดดเด่นและใช้กลยุทธ์ด้านราคาด้วยการลดต้นทุนและตัดค่าใช้จ่ายลง แต่องค์กรทุกองกรค์ต่างใช้กลยุทธ์ที่ไม่แตกต่างกันจนกระทั่งไม่ได้เกิดความได้เปรียบหรือเสียเปรียบกันมากนัก แต่ในปัจจุบันมีแนวความคิดที่กาลังได้รับความสนใจและให้ความสาคัญกันมากคือ การบริหารซัพพลายเชน
(Supply Chain Management : SCM)


Supply Chain Management

ระบบที่จัดการการบริหารและเชื่อมโยงเครือข่ายตั้งแต่ suppliers, manufacturers, distributors เพื่อส่งมอบสินค้าหรือบริการให้ลูกค้าโดยมีการเชื่อมโยงระบบข้อมูล วัตถุดิบ สินค้าและบริการ เงินทุน รวมถึงการส่งมอบเข้าด้วยกัน เพื่อให้การส่งมอบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถส่งมอบได้ตรงตามเวลาและความต้องการ

Supply Chain Management



Supply Chain for Denim Jeans


ขั้นตอนวิวัฒนาการไปสู่ระบบการจัดการซัพพลายเชน
การกาเนิดระบบการบริหารซัพพลายเชนกล่าวกันว่ามีต้นแบบมาจากการส่งลาเลียงเสบียงอาหารและอาวุธยุโธปกรณ์ตามระบบส่งกาลังบารุงของทหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงสงครามที่ต้องการความมั่นใจว่าอาวุธและเสบียงอาหารจะต้องจัดส่งให้เพียงพอกับความต้องการและไปยังสถานที่ที่กาหนดอย่างถูกต้องตรงเวลา เพื่อให้เกิดความสูญเสียน้อยที่สุด จึงจาเป็นต้องอาศัยการวางแผนจัดลาดับก่อนหลังและรักษาประสิทธิภาพในการสื่อสารที่รวดเร็วและแม่นยา  ซึ่งต่อมาแนวความคิดดังกล่าวได้นามาพัฒนาและดัดแปลงให้กับธุรกิจการค้าและอุตสาหกรรมเพื่อมุ่งสร้างคุณค่าและความพึงพอใจแก่ลูกค้าด้วยต้นทุนที่ลดลง โดย Helen Peek และคณะได้กล่าวถึงระยะของการเปลี่ยนแปลงธุรกิจเพื่อเข้าสู่กระบวนบริหารซัพพลายเชน 4ระยะ คือ

ระยะที่ 1องค์กรในรูปแบบพื้นฐาน (The Baseline Organization)
เป็นรูปแบบการบริหารจัดการแบบดั้งเดิมที่ต้องการสร้างผลกาไรสูงสุดขององค์กร โดยเน้นความชานาญในการทางานของแต่ละแผนก/ฝ่ายซึ่งองค์กรในรูปแบบนี้อาจไม่สามารถปรับแผนการผลิตและการจัดหาวัตถุดิบได้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในตลาดของผู้บริโภคเนื่องจากแต่ละแผนก/ฝ่ายต่างทางานเป็นอิสระต่อกันไม่เกี่ยวกัน

ระยะที่ 2องค์กรที่รวมหน้าที่ทางธุรกิจเข้าด้วยกัน (The Functionally Integrated Company)
ในระยะนี้องค์กรจะเริ่มจัดตั้งเป็นบริษัท โดยในองค์กรได้มีการรวบรวมหน้าที่/ลักษณะงานที่เป็นประเภทเดียวกันหรือคล้ายคลึงกันไว้ในกลุ่มงาน/ฝ่ายเดียวกัน ซึ่งจะไม่มีแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบออกจากันอย่างเด็ดขาดเหมือนระยะแรก เช่น ฝ่ายจัดการวัตถุดิบมีหน้าที่จัดซื้อ จัดสรร ควบคุมการใช้วัตถุดิบและปัจจัยการผลิตอื่นๆ ฝ่ายการผลิตมีหน้าที่วางแผนการผลิต และควบคุมคุณภาพการผลิต และฝ่ายขายมีหน้าที่วางแผนการตลาดและขายสินค้า เป็นต้น

ระยะที่ 3 องค์กรที่รวมการดาเนินงานภายในธุรกิจไว้ด้วยกัน (The Internally Integrated Company)
ในระยะนี้องค์กรมีการพัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างองค์กรของตนอย่างต่อเนื่องจากระยะที่ 2 โดยฝ่ายต่างๆ มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันทาให้มีการติดต่อประสานงานเชื่อมโนงระหว่างฝ่ายงานมากขึ้น การทางานจึงมีความต่อเนื่องกันเหมือนห่วงโซ่ นอกจากนั้นกิจกรรมการผลิตบางอย่างยังสามารถที่จะใช้ทรัพยากรร่วมกันภายในองค์กรได้ด้วย ซึ่งเป็นการช่วยลดต้นทุนการผลิตได้ในระดับหนึ่ง เช่น ฝ่ายผลิตกับฝ่ายขายอาจต้องมีการออกสารวจความต้องการของผู้บริโภคไปพร้อมๆ กัน เพื่อให้ได้รับรู้ถึงพฤติกรรมและความต้องการของผู้บริโภคว่าขณะนี้มีความต้องการสินค้าประเภทใด ลักษณะใด เพื่อที่จะได้มีการวางแผนการผลิตเพื่อให้เกิดความพึงพอใจสูงสุดแก่ผู้บริโภค

ระยะที่ 4 องค์กรที่รวมการดาเนินงานภายนอกธุรกิจไว้ด้วยกัน (The Externally Integrated Company)
ระยะนี้เป็นระยะที่บริษัทก้าวเข้าสู่รูปแบบการบริหารแบบซัพพลายเชนอย่างเต็มตัว โดยบริษัทได้ปรับโครงสร้างการบริหารแบบซัพพลายเชนภายในบริษัทของตนเองไว้เรียบร้อยแล้ว และเริ่มหันมาให้ความสาคัญกับกลยุทธ์การบริหารลูกโซ่อุปทานภายนอก โดยเข้าไปทางานร่วมกับซัพพลายเออร์ในลักษณะที่เป็นเครือข่ายการทางานเดียวกัน เพื่อควบคุมคุณภาพการผลิตวัตถุดิบ คุณลักษณะของวัตถุดิบและวิธีการผลิตวัตถุดิบในโรงงานของซัพพลายเออร์

การบริหารจัดการซัพพลายเชน
เป็นการจัดการที่ต้องอาศัยความร่วมมือของคู่ค้าที่เกี่ยวข้องในซัพพลายเชนเราเป็นสาคัญ องค์กรที่มีความรู้ในการบริหารจัดการดีควรต้องถ่ายทอดแนวคิดและวิธีการปรับปรุงระบบงานและการประสานงานระหว่างองค์กรให้แก่องค์กรอื่นๆ ในซัพพลายเชน การพัฒนาศักยภาพของซัพพลายเชนนั้น นอกจากระบบการประสานงานที่ดีภายในองค์กรแต่ละองค์กรแล้ว จะต้องพิจารณาความสามารถในการประสานระบบงานระหว่างองค์กรใน 3ส่วนหลัก ได้แก่

1. ศักยภาพในการประสานระบบการจัดการระหว่างกลุ่ม suppliers (Supply-management interface capabilities)
เพื่อให้ระบบปฏิบัติการโดยรวมมีต้นทุนต่าที่สุด มีระบบโลจิสติกส์ในการส่งผ่านวัตถุดิบ ผลิต และส่งมอบสินค้าที่มีประสิทธิภาพและสามารถใช้ประสิทธิภาพของระบบโลจิสติกส์ในการแข่งขันเชิงรุกเพื่อสร้างสรรค์ระบบการส่งมอบสินค้าที่รวดเร็ว ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้มากขึ้น

2. ศักยภาพในการประสานระบบการจัดการให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า(Demand-management interface capabilities)
เป็นระบบการบริหารจัดการเพื่อการให้บริการที่มีคุณภาพและการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า ทั้งก่อน ระหว่าง และภายหลังการขาย เพื่อสร้างความได้เปรียบเพิ่มขึ้นในเชิงการแข่งขัน คุณภาพโลจิสติกส์ที่ต้องการคือ ความรวดเร็ว การมีสินค้าพร้อมจาหน่ายเมื่อลูกค้าต้องการ การส่งมอบสินค้าที่สมบูรณ์สอดคล้องตามความต้องการของลูกค้า

3. ศักยภาพในการประสานระบบการจัดการสารสนเทศ(Information management capabilities)
ระบบสื่อสารระหว่างองค์กรในซัพพลายเชนมีความสาคัญอย่างยิ่ง ก่อนที่บริษัทข้ามชาติจะเริ่มต้นประกอบการในประเทศต่างๆ จะต้องมีการวางโครงสร้างพื้นฐานทาง IT พิจารณาวางแผนกับปัญหาในเรื่องการประสานข้อมูลต่างๆ ทั้งในระบบองค์กรและระหว่างองค์กรโดยพัฒนาร่วมกันไปพร้อมๆ กับการวางกลยุทธ์ ระบบสื่อสารที่ดีทาให้เกิดความรวดเร็วและประหยัดต้นทุนในการดาเนินงานได้มาก

ปัญหาของการจัดการซัพพลายเชน
การจัดการซัพพลายเชนให้ประสบความสาเร็จเป็นสิ่งที่ทุกองค์กรต้องการ อย่างไรก็ตามในบางครั้งการจัดการซัพพลายเชนอาจจะมีปัญหาเกิดขึ้น ซึ่งสามารถจาแนกได้ดังนี้
1. ปัญหาจากการพยากรณ์ การพยากรณ์ความต้องการสินค้าเป็นสิ่งที่สาคัญมากในการจัดการซัพพลายเชน ซึ่งการพยากรณ์ที่ผิดพลาดมีส่วนสาคัญที่ทาให้การวางแผนการผลิตผิดพลาด และอาจจะทาให้ผู้ผลิตมีสินค้าไม่เพียงพอกับความต้องการของลูกค้าที่เกิดขึ้น
2. ปัญหาในกระบวนการผลิต ปัญหาที่เกิดจากกระบวนการผลิตอาจจะทาให้ไม่สามารถผลิตสินค้าได้ตามเวลาที่กาหนดไว้ เช่น เครื่องจักรเสียทาให้ต้องเสียเวลาส่วนหนึ่งในการซ่อมและปรับตั้งเครื่องจักร
3. ปัญหาด้านคุณภาพ ปัญหาด้านคุณภาพอาจจะส่งผลให้กระบวนการผลิตต้องหยุดชะงัก และทาให้ไม่สามารถส่งมอบสินค้าให้แก่ลูกค้าได้ตามที่กาหนดไว้ นอกจากนั้นระบบการขนส่งที่ไม่มีคุณภาพสามารถส่งผลกระทบต่อผู้ที่อยู่ในโซ่อุปทานได้เช่นกัน
4. ปัญหาในการส่งมอบสินค้า การส่งมอบที่ล่าช้าเกิดขึ้นได้ตั้งแต่เรื่องของวัตถุดิบ งานระหว่างทา
และสินค้าสาเร็จรูป เช่น ซัพพลายเออร์ส่งมอบวัตถุดิบล่าช้า ทาให้ผู้ผลิตไม่สามารถผลิตสินค้าได้ตามตารางการผลิตที่กาหนดไว้ นอกจากนั้น ในระหว่างกระบวนการผลิต การส่งต่องานระหว่างทาที่ล่าช้าตามไปด้วยในกรณีที่ไม่สามารถปรับตารางการผลิตได้ทัน ยิ่งไปกว่านั้น การส่งมอบสินค้าสาเร็จรูปให้ลูกค้าล่าช้าจะส่งผลกระทบต่อระดับการให้บริการลูกค้าและความสามารถในการแข่งขันของกิจการ
5. ปัญหาด้านสารสนเทศ สารสนเทศที่ผิดพลาดมีผลกระทบต่อการจัดการโซ่อุปทาน ซึ่งทาให้การผลิตและการส่งมอบสินค้าผิดไปจากที่กาหนดไว้ ความผิดพลาดในสารสนเทศที่เกิดขึ้นมีหลายประการ เช่น ความผิดพลาดในการสั่งซื้อวัตถุดิบ การกาหนดตารางการผลิต การควบคุมสินค้าคงคลัง การขนส่ง ฯลฯ
6. ปัญหาจากลูกค้า ปัญหาที่เกิดจากลูกค้าเป็นความไม่แน่นอนอย่างหนึ่งของโซ่อุปทาน เช่น ลูกค้ายกเลิกคาสั่ง


Bullwhip Effect
คือปัญหาที่เกิดจากความแปรปรวนเล็กน้อยของความต้องการถูกนามาขยาย เมื่อส่งข้อมูลกลับต้นทาง

ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ (e-Business)
ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ (e-Business) หรือในบางครั้งเรียกว่า พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Commerce) เป็นการใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ในกระบวนการทางธุรกิจและการดาเนินงานระหว่างธุรกิจกับธุรกิจและระหว่างบุคคลกับธุรกิจ ในธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ (e-Business) จะมีการทาธุรกรรมผ่านสื่อต่างๆ ทางอิเล็กส์ทรอนิกส์ เช่น การสั่งซื้อสินค้าทางอินเทอร์เน็ต การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ฯลฯ

ธุรกิจที่อยู่ในโซ่อุปทานส่วนใหญ่จะมีการดาเนินธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์กับซัพพลายเออร์และ
ลูกค้าประโยชน์ที่ได้รับจากการทาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์มีหลายประการ เช่น
เกิดการประหยัดต้นทุน เนื่องจากมีการใช้เทคโนโลยี แทนแรงงานคน ซึ่งทาให้ราคาของสินค้าลดลง
ลดการใช้คนกลางในการดาเนินธุรกิจ เช่น ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก ผู้ให้บริการ ฯลฯ
ลดกิจกรรมที่ไม่จาเป็นระหว่างโซ่อุปทานทาให้ผู้บริโภคได้รับประโยชน์จากสารสนเทศมากขึ้น

การใช้บาร์โค้ด (Barcode)
บาร์โค้ดหรือรหัสแท่ง เป็นสัญลักษณ์ที่อยู่ในรูปของแท่งบาร์ โดยจะประกอบไปด้วยบาร์ที่มีสีเข้มและช่องว่างสีอ่อน ซึ่งบาร์เหล่านี้จะเป็นตัวแทนของตัวเลขและตัวอักษร สามารถอ่านได้ด้วยเครื่อง Scanner บาร์โค้ดจึงทาหน้าที่ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ของสินค้า อาทิ หมายเลขของสินค้า ครั้งที่ทาการผลิต เลขหมายเรียงลาดับกล่องเพื่อการขนส่ง ปริมาณสินค้าที่ผลิต รวมถึงตาแหน่งผู้รับสินค้า เป็นต้น เพื่อให้สามารถควบคุม การหมุนเวียนของสินค้าโดยรวดเร็วขึ้นไม่ว่าจะเป็นการรับ การจัดเก็บและการจ่ายสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ นับว่ามีประโยชน์อย่างมากในปัจจุบันและที่สาคัญการติดบาร์โค้ดถือเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนให้เกิดการจัดการซัพพลายเชน ลดระยะเวลาและความซ้าซ้อนในการทางาน
ปัจจุบันรหัสสากร (EAN Thailand) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยเป็นสถาบันที่ควบคุม ดูแลและส่งเสริมการใช้ระบบมาตรฐาน ECC : UCC (ย่อมาจาก European Article Number : Uniform Code Council)


การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (EDI : Electronic Data Interchange)
เป็นเทคโนโลยีอีกประการหนึ่งที่มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการจัดการซัพพลายเชน เป็นระบบถ่ายทอดข่าวสารข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่งในรูปสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ โดยรูปแบบข่าวสารข้อมูลนั้นจะมีการจัดรูปแบบและมีความเป็นมาตรฐานเดียวกันตามที่ได้ตกลงกันไว้ เรียกว่า EDI Message ผ่านเครือข่ายการสื่อสาร (Telecommunication Network) ทาให้เพิ่มความถูกต้องและรวดเร็วในการทางาน ทั้งผู้ส่งและผู้รับข้อมูลต่างก็สามารถเข้าถึง EDI message ได้โดยไม่ต้องเสียเวลาในการบันทึกข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์หรือพิมพ์ข้อมูลการสั่งซื้อออกมาเป็นเอกสาร ทาให้ประหยัดเวลาและลดค่าใช้จ่ายในการจัดส่งเอกสาร ลดปัญหาการสูญหายและความผิดพลาดเนื่องจากมีระบบฐานข้อมูลที่ถูกต้อง


การใช้ซอฟแวร์ Application SCM
การนาซอฟแวร์มาพัฒนาและประยุกต์ใช้งานในปัจจุบัน ยกตัวอย่างเช่น Enterprise Resource Planning (ERP) เป็นซอฟแวร์ที่จัดเป็นระบบศูนย์กลางขององค์กรทั้งหมด ทาหน้าที่ประสานงานหลักๆ ในด้านต่างๆ เช่น การเงิน การผลิต และการจัดคลังสินค้า
Advance Planning and Scheduling จัดสร้างแผนการผลิตและจัดตารางเวลาโรงงานการผลิต ใช้เงื่อนไขข้อจากัดและกฎเกณฑ์ทางธุรกิจในการปรับตารางให้ดีที่สุด Inventory Planning วางแผนคลังสินค้าที่จาเป็นในแต่ละจุดเพื่อกระจายการจัดส่ง เพื่อให้ตรงตามความต้องการของตลาด
Customer Asset Management ใช้สาหรับจัดระบบการสื่อสารโต้ตอบกับลูกค้ารวมทั้งระบบขายอัตโนมัติและการให้บริการลูกค้า เป็นต้น
ซึ่งในปัจจุบันผู้ผลิตระบบ ERPหลักๆ มีอยู่ 5 รายด้วยกัน คือ SAP,ORACLE, Peoplesoft, J.D. Edwards และ Baan




Chapter 6 e-CRM : Electronic Customer Relationship Management

Chapter 6
e-CRM : Electronic Customer Relationship Management

Customer relationship management (CRM) :
An approach to building and sustaining long-term business with
customers.
CRM หมายถึง เป็นกลยุทธ์ทางธุรกิจเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระยะยาวกับลูกค้า
เรียนรู้ความต้องการที่แตกต่างกันของลูกค้า และตอบสนองความต้องการของ ลูกค้า

ด้วยสินค้าหรือบริการที่เหมาะสมกับลูกค้าแต่ละคนมากที่สุด

เป้าหมายของ CRM นั้นไม่ได้ เน้นเพียงแค่การบริการลูกค้าเท่านั้น แต่ยังรวมถึง
การเก็บข้อมูลพฤติกรรม ในการใช้จ่ายและความต้องการของลูกค้า จากนั้นจะนำข้อมูล
เหล่านั้นมาวิเคราะห์ และใช้ให้เกิดประโยชน์

กระบวนการทำงานของระบบCRM

Identify เก็บข้อมูลว่าลูกค้าของบริษัทเป็นใคร เช่น ชื่อลูกค้า ข้อมูลสำหรับติดต่อกับลูกค้า
Differentiate วิเคราะห์พฤติกรรมของลูกค้าแต่ละคน และจัดแบ่งลูกค้าออกเป็นกลุ่มตามคุณ
ค่าที่ลูกค้ามีต่อบริษัท
Interact มีปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าเพื่อเรียนรู้ความต้องการของลูกค้า และเพื่อสร้างความพึงพอ
ใจให้กับลูกค้าในระยะยาว
Customize นำเสนอสินค้าหรือบริการที่มีความเหมาะสมเฉพาะตัวกับลูกค้าแต่ละคน

ขั้นตอนการทำงานของ CRM

1. การวิเคราะห์ลูกค้า
ผู้ประกอบการธุรกิจจะต้องสามารถใช้ข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้าที่มีอยู่ในฐานข้อมูลได้อย่างมีคุณค่า
และมีประสิทธิภาพ และการเก็บข้อมูลของลูกค้าและการนำไปใช้ จึงควรมีการจัดการอย่างเป็น
ระบบ
2. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการตลาด
สภาพแวดล้อมทางการตลาดแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ระบบภายใน และ ระบบภายนอก ซึ่งทั้งสองระบบต่างมี
ความสำคัญต่อองค์กร หากมีจุดบกพร่องหรือเกิดข้อจำกัดขึ้นที่ใด อาจจะทำให้ธุรกิจประสบกับความล้มเหลวได้
!
3. การแบ่งส่วนตลาด
ซึ่งสามารถแบ่งลูกค้าออกเป็น 3 ประเภท คือ ลูกค้าที่เป็นธุรกิจค้าส่ง ธุรกิจค้าปลีก และผู้บริโภค
!
4. การกำหนดตลาดเป้าหมาย
สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ประเภท Traders คือ กลุ่มคนกลางในช่องทางการจัดจำหน่าย และประเภท
Consumers คือ กลุ่มผู้บริโภค ทั้งนี้ บริษัทไม่ควรดึงลูกค้าทุกคนเข้ามาเป็นกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด

5. การจัดทำแผนการตลาด
บริษัทควรจะจัดลำดับความสำคัญของแต่ละกลุ่มเป้าหมายว่าควรให้ความสำคัญกับกลุ่มลูกค้าเป้าหมายใดเป็นอันดับแรกและ
รองลงไป และแต่ละกลุ่มนั้นผู้ใดมีบทบาทและมีอำนาจในการตัดสินใจซื้อ เครื่องมือหรือกิจกรรมการสื่อสารการตลาดที่นำมาใช้กับ
E-CRM นั้นจะต้องมีความหลากหลาย ดังนี้

การตลาดโดยตรง Direct Marketing
ได้แก่ โ ทรศัพท์ ( Telemarketing ) เช่น Call Center ใบรับประกันสินค้า ( Warranty Card ) การตลาดอิเล็กทรอนิกส์
( E-Marketing ) เช่น การสร้างเวปไซต์ที่ให้สาระน่ารู้เกี่ยวกับสินค้า และมีสื่อตอบกลับให้ลูกค้าสื่อสารกลับมา

การประชาสัมพันธ์ ( Public Relations )
ได้แก่ เอกสารข่าวแจกในรูปของใบปลิว แผ่นพับ วารสาร การจัดกิจกรรมพิเศษ ( Event Marketing ) เช่น การเชิญลูกค้าเป้า
หมายที่ถูกต้องมาร่วมงานที่บริษัทจัดขึ้น

การประชาสัมพันธ์ ( Public Relations )
ได้แก่ เอกสารข่าวแจกในรูปของใบปลิว แผ่นพับ วารสาร การจัดกิจกรรมพิเศษ ( Event Marketing ) เช่น การเชิญลูกค้าเป้า
หมายที่ถูกต้องมาร่วมงานที่บริษัทจัดขึ้น

การโฆษณา ( Advertising )
เช่น การเขียนข้อความแบบเป็นกันเอง และพิมพ์ส่วนท้ายของโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ เป็นคูปองเพื่อให้ลูกค้ากรอกรายละเอียดตอบ
กลับมายังบริษัท ทั้งนี้เพื่อขอรับข่าวสารข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าเพิ่มเติม

การส่งเสริมการขาย ( Sales Promotion )
เป็นการสร้างและเพิ่มยอดซื้อของลูกค้าอย่างต่อเนื่องในระยะเวลาหนึ่ง ไ ด้แก่ แคมเปญสะสมแต้มคะแนนจากยอดซื้อเพื่อแลกรับ
ของรางวัลหรือผลิตภัณฑ์อื่นๆ การนำสินค้าเก่ามาแลกซื้อสินค้าใหม่ ซึ่งการส่งเสริมการขายนี้เหมาะสำหรับ E-CRM ที่มุ่งสร้าง
สัมพันธ์กับลูกค้าใหม่


ประโยชน์ ของ CRM

-มี รายละเอียดข้อมูลของลูกค้าในด้านต่างๆ ได้ แก่ Customer Profile
-Customer Behavior
-วางแผนทางด้านการตลาดและการขายอย่างเหมาะสม
-ใช้กลยุทธ์ ในการตลาด และการขายได้ อย่างรวดเร็วอย่างมี ประสิทธิ ภาพตรงความต้องการของ
ลูกค้า
-เพิ่มและรักษาส่วนแบ่งตลาดของธุรกิจ
-ลดการทำงานที่ซับซ้อน ลดค่าใช้ จ่ายและเพิ่มประสิทธิภาพของการทำงาน เพิ่มโอกาสในการ
แข่งขัน ก่อให้ เกิดภาพพจน์ ที่ดี ต่อองค์ การ

e-CRM : Electronic Customer Relationship Management

-E-CRM หมายถึง กระบวนการจัดการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าทาง internet มี
การผสมผสานการใช้งานเทคโนโลยี บุคลากร และกระบวนการขายสินค้าหรือบริการ
เข้าด้วยกัน เพื่อให้ได้มาซึ่งลูกค้า รักษาลูกค้าไว้และสร้างกำไรสูงสุดจากลูกค้า


องค์ประกอบของE-CRM

❖ระบบการจัดการ
❖คน
❖เทคโนโลยี

หน้าที่หลักของ e-CRM

*การหาลูกค้าใหม่ (Prospecting) ปัจจัยที่ต้องพิจารณา คือ
❖ การจัดกลุ่มลูกค้า
❖ การเลือกกลุ่มลูกค้าที่จะเป็นเป้าหมาย
❖ วิธีการได้ลูกค้า การจัดกลุ่มและการเลือกจะพิจารณาจาก “ความต้องการของลูกค้า” และ “กำไรของบริษัท” ส่วน
วิธีการได้ลูกค้า ได้แก่
❖ การโฆษณาตามสื่อต่างๆ
❖ การประชาสัมพันธ์
❖ Web Site
❖ พนักงานขาย
❖ งานแสดงสินค้า
❖ ลูกค้าติดต่อ สอบถามที่บริษัท
❖ การจัดกิจกรรมทางการตลาด

➢การรักษาลูกค้าเก่าไว้ หรือ การเรียกลูกค้าเก่ากลับมา (Save or Win Back)
▪ตรวจสอบ
✓ ลูกค้าที่มีแนวโน้มการซื้อลดลง
✓ ลูกค้าที่ขาดการติดต่อ
▪กลยุทธ์
✓ วิเคราะห์และเสนอสินค้า และหรือโปรแกรมที่จูงใจ
✓ เสนอกิจกรรมเพื่อให้ลูกค้าเข้าร่วม

❖ การสร้างความจงรักภักดี การวัดความจงรักภักดีพิจารณาจาก (ต่อ)
1)มูลค่าที่ได้รับจากลูกค้า (Value-based segmentation)
ดูยอดซื้อของลูกค้าแต่ละราย
ดูกำไรที่ได้รับ
จัดกลุ่มตามยอดซื้อหรือกำไร
2)ความต้องการของลูกค้า (Need-based segmentation)
ดูความต้องการของแต่ละคน
จัดกลุ่มตามความต้องการ
3)การสร้างความจงรักภักดีทำได้โดย
จัดกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง
เสนอสิทธิพิเศษ
เสนอสินค้าหรือบริการใหม่ๆ
ทำ Loyalty Program

ปัจจัยที่มีผลต่อ e-CRM

1. ปรับแนวคิดการติดต่อกับลูกค้า
2. เน้นการติดต่อและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับลูกค้า
3. ดำรงไว้ซึ่งเป้าหมายการสร้างประโยชน์ให้แก่ลูกค้า
4. เรียนรู้และเข้าถึงเทคโนโลยีที่นำมาใช้ในการพัฒนาความสัมพันธ์
5. ต้องมีข้อมูลของลูกค้าอย่างถูกต้อง ทันสมัยเพื่อให้ทันกับพฤติกรรมของลูกค้า
6. ติดตามกลยุทธ์การตลาดของคู่แข่งขันอย่างทันเหตุการณ์
7. ต้องมีความยืดหยุ่นในกลยุทธ์ ถ้าข้อมูลเปลี่ยนต้องปรับกลยุทธ์ตอบสนองความเปลี่ยนแปลงได้อย่างทันที
8. ทำ ERM : Employee Relationship Management คือ สร้างความสัมพันธ์และความรู้สึกของการทำงาน
เป็นทีม
9. ทำ ERM : Experiment Relationship Management คือ การจัดการกับประสบการณ์ของลูกค้า
10.ทุกฝ่ายในบริษัทต้องมี Marketing Mind


ขั้นตอนการทำ e-CRM

❑พัฒนาฐานข้อมูล
❑เลือกเทคโนโลยี
❑เลือกโปรแกรมการตลาด
❑ติดต่อสื่อสาร
❑ประเมินผล
❑ปรับปรุงฐานข้อมูล

























Chapter 5 e-Marketing


 E-marketing : Achieving marketing objectives through use of electronic communications technology.


 E-Marketingย่อมาจากคาว่าElectronic Marketingหรือเรียกว่า“การตลาดอิเล็กทรอนิกส์”หมายถึงการดาเนินกิจกรรมทางการตลาดโดยใช้เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ที่ทันสมัยและสะดวกต่อการใช้งาน เข้ามาเป็นสื่อกลาง ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ หรือพีดีเอ ที่ถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกันด้วยอินเทอร์เน็ต มาผสมผสานกับวิธีการทางการตลาด การดาเนินกิจกรรมทางการตลาด อย่างลงตัวกับลูกค้าหรือกลุ่มเป้าหมาย เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายขององค์กรอย่างแท้จริง


คุณลักษณะเฉพาะของe-Marketing
เป็นการสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมายในลักษณะเฉพาะเจาะจง(NicheMarket)
เป็นลักษณะเป็นการสื่อสารแบบ2ทาง(2WayCommunication)
เป็นรูปแบบการตลาดแบบตัวต่อตัว(OnetoOneMarketingหรือPersonalizeMarketing)ที่ลูกค้าหรือกลุ่มเป้าหมายสามารถกาหนดรูปแบบสินค้าและบริการได้ตามความต้องการของตนเอง
มีการกระจายไปยังกลุ่มผู้บริโภค(DispersionofConsumer)
เป็นกิจกรรมที่นักการตลาดสามารถสื่อสารไปยังทั่วทุกมุมโลกตลอด24ชั่วโมง(24BusinessHours)
สามารถติดต่อสื่อสารโต้ตอบปฏิสัมพันธ์ได้อย่างรวดเร็ว(QuickResponse)
มีต้นทุนต่าแต่ได้ประสิทธิผลสามารถวัดผลได้ทันที(LowCostandEfficiency)
มีความสัมพันธ์กับกิจกรรมการตลาดแบบดั้งเดิม(RelatetoTraditionalMarketing)
มีการตัดสินใจในการซื้อจากข้อมูลข่าวสารที่ได้รับ(PurchasebyInformation)

E-Marketing เป็นส่วนผสมแนวความคิดทางการตลาดและทางเทคนิครวมเข้าไว้ด้วยกันทั้งด้านการออกแบบ(Design),การพัฒนา(Development),การโฆษณาและการขาย(AdvertisingandSales)เป็นต้น(ตัวอย่างกิจกรรมได้แก่SearchEngineMarketing,E-mailMarketing,AffiliateMarketing,ViralMarketingฯลฯ)โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ธุรกิจและลูกค้าเนื่องจากระบบทางอิเล็กทรอนิกส์สามารถสนับสนุนการร้องขอข้อมูลของลูกค้าการจัดเก็บประวัติและพฤติกรรมของลูกค้าเอาไว้รวมถึงการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้าได้ส่งผลต่อการเพิ่มและรักษาฐานลูกค้า(CustomerAcquisitionandRetention)และอานวยประโยชน์ในการประกอบธุรกิจอย่างครบถ้วน

ความแตกต่างกันระหว่าง e-Marketing, e-Business และ e-Commerce
- E-Marketingคือรูปแบบการทาการตลาดในรูปแบบหนึ่งโดยใช้เครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์เครื่องมือดิจิตอลเข้ามาช่วยในการทาการตลาดแต่ในความหมายสาหรับE-BusinessหรือElectronicBusinessนั้นจะมีความหมายที่ใกล้เคียงกับคาว่าE-CommerceหรือElectronicCommerceมากกว่าเพียงแต่ว่าความหมายของE-Businessจะมีขอบเขตที่กว้างกว่าโดยหมายถึงการทากิจกรรมในทุกๆขั้นตอนของกระบวนการธุรกิจผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรือเรียกว่า“ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์”ทั้งการทาการค้าการซื้อการขายการติดต่อประสานงานงานธุรการต่างๆที่เกิดขึ้นภายในสานักงานและการทาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งเป็นกระบวนการในการดาเนินการทางธุรกิจที่อาศัยระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์มาใช้ในการดาเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางธุรกิจโดยมีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม(AddedValue)ตลอดกิจกรรมทางธุรกิจ(ValueChain)และลดขั้นตอนของการที่ต้องอาศัยแรงงานคน(ManualProcess)มาใช้แรงงานจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์(ComputerizedProcess)แทนรวมถึงช่วยให้การดาเนินงานภายในภายนอกมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและยังเป็นการสร้างความพึงพอใจให้ลูกค้ามากขึ้นอีกด้วยตัวอย่างเช่นการควบคุมสต๊อคและการชาระเงินให้เป็นระบบอัตโนมัติดาเนินการได้รวดเร็วและทาได้ง่ายลักษณะการนาE-Businessมาประยุกต์ใช้กับธุรกิจได้แก่

ลักษณะการนา E-Business มาประยุกต์ใช้กับธุรกิจได้แก่
*การเชื่อมต่อระหว่างกันภายในองค์กร (Intranet)
*การเชื่อมต่อระหว่างกันกับภายนอกองค์กร (Extranet)
*การเชื่อมต่อระหว่างกันกับลูกค้าทั่วโลก (Internet)

ประโยชน์ของ e-Marketing
นักการตลาดชื่อSmithandChaffeyได้กล่าวถึงประโยชน์จากการนาเอาเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตมาช่วยสนับสนุนการทาการตลาดและก่อให้เกิดผลสาเร็จตามเป้าหมายโดยมองว่าE-Marketingเป็นกระบวนการในการจัดการทางการตลาดโดยมีการเน้นย้าถึงการให้ความสาคัญแก่ลูกค้าเป็นหลักในขณะที่แสดงถึงการเชื่อมโยงการทางานทางธุรกิจในอันที่จะช่วยสร้างความสาเร็จในผลกาไรให้กับธุรกิจซึ่งสามารถแบ่งกระบวนการในการจัดการทางการตลาดได้ดังนี้

กระบวนการในการจัดการทางการตลาดของ e-Marketing
การจาแนกแยกแยะ(Identifying)สามารถทาการจาแนกแยกแยะได้ว่าลูกค้าเป็นใครมีความต้องการอย่างไรอยู่ที่ไหนและมีพฤติกรรมในการเลือกซื้อสินค้าอย่างไรโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย
การทานายความคาดหวังของลูกค้า(Anticipating)เนื่องจากความสามารถของอินเทอร์เน็ตนั้นช่วยเพิ่มช่องทางให้ลูกค้าสามารถเข้าถึงข้อมูลและสามารถซื้อสินค้าได้สะดวกยิ่งขึ้นโดยการเข้าใจถึงความต้องการของลูกค้าถือเป็นหัวใจสาคัญในการทาE-Marketingตัวอย่างเช่นเว็บไซต์สายการบินต้นทุนต่าeasyJet(http://www.easyjet.com)มีส่วนสนับสนุนทาให้มีรายได้จากการผ่านออนไลน์กว่า90%
สนองความพอใจของลูกค้า(Satisfying)ถือเป็นความสาเร็จในการทาE-Marketingในการสร้างความพอใจให้แก่ลูกค้าผ่านช่องทางออนไลน์การเพิ่มขึ้นของลูกค้านั้นอาจจะมาจากการใช้งานง่ายการสนับสนุนการให้บริการแก่ลูกค้าเป็นต้น


ประโยชน์ของการนา e-Marketing มาใช้ 5Ss’
นอกจากนี้SmithandChaffeyยังได้กล่าวถึง5Ss’ซึ่งเป็นประโยชน์ที่ได้รับจากการนาเอากลยุทธ์การตลาดออนไลน์มาใช้ได้แก่
การขาย(Sell)ช่วยทาให้ยอดขายเพิ่มขึ้นจากการทาการตลาดออนไลน์ซึ่งจะเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ทาให้ลูกค้ารู้จักและเกิดความทรงจา(AcquisitionandRetentiontools)ในสินค้าบริการเราเพิ่มมากขึ้นซึ่งนาไปสู่การขายที่เพิ่มขึ้นอีกด้วย
การบริการ(Serve)การสร้างประโยชน์ที่เพิ่มขึ้นให้แก่ลูกค้าจากการใช้บริการผ่านออนไลน์ไม่ว่าจะเป็นการให้สิทธิพิเศษต่างๆเป็นต้น)
การพูดคุย(Speak)การสร้างความใกล้ชิดกับลูกค้ามากยิ่งขึ้นโดยสามารถสร้างแบบสนทนาการโต้ตอบกันได้ระหว่างกันได้(Dialogue)ทาให้ลูกค้าสามารถเข้ามาสอบถามตลอดจนสามารถสารวจความคิดเห็นความต้องการของลูกค้าลูกค้ามีความสนใจในเรื่องใดเป็นพิเศษ
ประหยัด(Save)การสร้างความประหยัดเพิ่มขึ้นจากงบประมาณการพิมพ์กระดาษโดยสามารถใช้วิธีการส่งจดหมายข่าวE-Newsletterไปยังลูกค้าแทนการส่งจดหมายแบบดั้งเดิม
การประกาศ(Sizzle)การประกาศสัญลักษณ์ตราสินค้าผ่านออนไลน์ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างสินค้าของเราให้เป็นที่รู้จักมีความคุ้นเคยมากยิ่งขึ้น


หลักการของ e-Marketing
การตลาดยุคEเน้นการใช้MassCustomizationมากกว่าMassMarketingเพราะลูกค้าทุกคนมีสิทธิ์เลือกเว็บไซต์ต่างๆทั่วโลกเพื่อหาสินค้าที่ตนเองต้องการเพราะฉะนั้นเราต้องเน้นระบบที่สนองตอบความต้องการของลูกค้าแต่ละคนเป็นหลักทั้งนี้เราจักต้องสร้างระบบโปรแกรมอัตโนมัติขึ้นมาตอบสนองความต้องการดังกล่าวโดยให้แต่ละคนสามารถเลือกทางเลือกที่สนองความต้องการได้ด้วยตนเอง
การแบ่งส่วนตลาดต้องเป็นแบบMicroSegmentationหรือOne-to-OneSegmentationหมายถึงหนึ่งส่วนตลาดคือลูกค้าหนึ่งคนเพราะในตลาดบนเว็บถือว่าลูกค้าเป็นใหญ่เนื่องจากมีสิทธิ์ที่เลือกซื้อสินค้าใครก็ได้ยกเว้นแต่เราเป็นเพียงรายเดียวที่มีอยู่ในตลาดฉะนั้นการพิจารณาข้อมูลความต้องการหรือพฤติกรรมของลูกค้าทุกคนโดยอาศัยระบบฐานข้อมูลที่ตรวจจับพฤติกรรมของลูกค้าแต่ละรายได้ถือเป็นปัจจัยแห่งความสาเร็จที่สาคัญมากหรือในแง่ของการจัดการแล้วเราเรียกว่าCRMหรือCustomerRelationshipManagementนั่นเองเพราะนี่จะทาให้เราทราบว่าใครคือลูกค้าประจา
การวางตาแหน่งสินค้า(Positioning)ต้องเป็นไปตามความต้องการแต่ละบุคคลหรือMigrationingการวางตาแหน่งสินค้าเพื่อให้ลูกค้ารับรู้นั้นต้องวางตามความต้องการของแต่ละบุคคลและหากความต้องการนั้นเปลี่ยนไประบบก็ต้องเคลื่อนตาแหน่งของการวางนั้นไปสนองตอบต่อความต้องการใหม่ด้วย
ให้เราเป็นหนึ่งในเว็บที่ลูกค้าจาได้การสร้างความจดจาเพื่อให้จาเว็บไซต์เราการจดชื่อโดเมนที่ทาให้จดจาง่ายหรือมีความหมายที่สอดคล้องกับเนื้อหาของเว็บไซต์จึงเป็นสิ่งที่จาเป็นมาก
ต้องรู้ความต้องการลูกค้าล่วงหน้าจาเป็นจักต้องติดตามพฤติกรรมการซื้อของกลุ่มเป้าหมายโดยตลอด
ต้องรู้ความต้องการลูกค้าล่วงหน้าจาเป็นจักต้องติดตามพฤติกรรมการซื้อของกลุ่มเป้าหมายโดยตลอด
ต้องปรับที่ตัวสินค้าและราคาเป็นหลักสินค้าถือเป็นหัวใจที่สาคัญที่สุดจาเป็นอย่างยิ่งที่จักต้องเทียบกับคุณค่าของสินค้าและคู่แข่งเสมอว่าใครสนองตอบต่อความต้องการได้ดีกว่ากัน
ต้องให้ลูกค้าตกแต่งสินค้าตามความต้องการได้โดยอัตโนมัติ(Customization&Personalization)วิธีที่ให้ลูกค้าได้รับคุณค่าหรือสนองความต้องการได้ดีที่สุดก็คือการให้ลูกค้าได้เลือกหรือตกแต่งสินค้าเองรวมทั้งการคานวณราคาด้วยฉะนั้นการให้Optionsให้ลูกค้าได้เลือกมากที่สุดจึงเป็นสิ่งที่สาคัญมาก


ส่วนผสมทางการตลาดอิเล็กทรอนิกส์
ผลิตภัณฑ์(Product)
ราคา(Price)
สถานที่(Place)
การส่งเสริมการขาย(Promotion)
เครือข่ายสังคม(SocialNetwork)
การขายบนเว็บไซต์
การบริการลูกค้า
ระบบป้องกันความปลอดภัย
ระบบฐานข้อมูลลูกค้าเพื่อนามาใช้ในการบริการ(PersonalizationService)

e-Marketing Planning

the SOSTAC™ framework developed by Paul Smith (1999) ซึ่งสามารถสรุปขั้นตอนที่เกี่ยวข้องได้ 6ขั้นตอนด้วยกัน คือ
Situation –where are we now?
Objectives –where do we want to be?
Strategy –how do we get there?
Tactics –how exactly do we get there?
Action –what is our plan?
Control –did we get there?







7 ขั้นตอนสาหรับการทา e-Marketing
*ขั้น1กาหนดวัตถุประสงค์(SetObjective)
การจัดทาเว็บไซต์ต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักของธุรกิจ


*เพื่อสร้างยอดขาย(SalesandAcquisition)
การนาe-Marketingมาใช้เพื่อให้เกิดผลกระทบในการเพิ่มยอดขายโดยตรงกับธุรกิจทั้งในระยะสั้นและระยะยาวเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นขณะตัดสินใจซื้อ

*เพื่อสร้างภาพลักษณ์(Image)
ลักษณะภาพลักษณ์ที่ดีมีดังนี้
I.สร้างขึ้นมาให้ดูง่ายจดจาง่าย
II.ดูมีความน่าเชื่อถือก่อให้เกิดความประทับใจ
III.เป็นรูปธรรมและมองเห็นได้อย่างชัดเจน
IV.อยู่ระหว่างความคาดหวังและความเป็นจริงควรเป็นไปในเชิงบวก
V.เป็นสินทรัพย์ของธุรกิจ

*ให้บริการและเพื่อสนับสนุนการขาย(ServiceandSupport)
เป็นช่องทางสาหรับบริการหลังการขายแก่ลูกค้าเน้นในด้านการให้บริการภายในเว็บไซต์โดยสร้างการติดต่อสื่อสารขึ้นระหว่างกันเช่นการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายหรือการติดต่อระหว่างผู้ซื้อกับผู้ซื้อด้วยกันเอง

*การสร้างตราสินค้าให้เป็นที่รู้จัก(BrandAwareness)
โดยการทาการส่งข้อความด้วยเครื่องมือทางการตลาดออนไลน์ใดๆถึงกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้เกิดการรับรู้(Awareness)ทาให้ลูกค้าจดจาได้(Recognition)และระลึกถึงเป็นชื่อแรก(Recall)เมื่อต้องการจะซื้อสินค้า

*การรักษาฐานลูกค้าปัจจุบัน(CustomerRetention)
เป็นความพยายามในการสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าซึ่งยังผลให้ธุรกิจสามารถสร้างผลกาไรได้อย่างต่อเนื่องด้วยการรักษาความพอใจให้คงอยู่ซึ่งกระบวนการนี้มีความเกี่ยวเนื่องกับการบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า(CustomerRelationManagement:CRM)

*การสร้างความจงรักภักดีในตราสินค้า(BrandRoyalty)
คือการที่ลูกค้ารักและเกิดความศรัทธาในตราสินค้าของธุรกิจและยากที่จะทาให้ลูกค้าเกิดการเปลี่ยนใจที่จะไปซื้อสินค้าอื่นแทน

ขั้น 2 การกาหนดกลุ่มเป้าหมายด้วยวิธี 5W+1H
Who(ใคร)ลูกค้าคือใครมีอายุประมาณเท่าไรเพศอะไรระดับการศึกษาเป็นอย่างไรระดับรายได้หรือฐานเงินเดือนอยู่ที่เท่าใดประกอบอาชีพอะไรรสนิยมส่วนตัวเป็นอย่างไรฯลฯข้อมูลเหล่านี้ช่วยให้สามารถระบุกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจนเพื่อวางแผนการตลาดหรือสร้างสินค้าหรือบริการที่ตอบสนองต่อพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายได้ถูกต้อง
What(อะไร)อะไรคือสิ่งที่ลูกค้าต้องการเพื่อทราบอุปสงค์(demand)และความปรารถนาภายในใจ(willing)ของลูกค้าว่าสินค้าหรือบริการรูปแบบไหนที่ลูกค้าต้องการและอะไรที่จะสร้างความแตกต่างให้กับสินค้าหรือบริการจากคู่แข่งขันได้
Where(ที่ไหน)ลูกค้าอยู่ที่ไหนเป็นคาถามเชิงภูมิศาสตร์เพื่อทราบถึงสภาพแวดล้อมวัฒนธรรมภาษาและเชื้อชาติของกลุ่มเป้าหมายว่าเป็นเช่นไรเพื่อให้ทราบว่าจะหาลูกค้าได้จากไหนบ้างและที่ไหนคือที่ๆลูกค้ามักจะไปอยู่และสามารถสื่อสารกับลูกค้าได้ด้วยวิธีอะไร
When(เมื่อไร)เมื่อไรที่ลูกค้าต้องการเราเราควรทราบถึงความต้องการว่าในช่วงเวลาไหนที่ลูกค้าต้องการซื้อหรือใช้บริการและต้องการบ่อยเพียงใดซึ่งจะช่วยให้เรากาหนดและวางแผนการพยากรณ์ต่างๆให้ตรงกับความต้องการของลูกค้าได้อย่างถูกต้อง
Why(ทาไม)ทาไมลูกค้าต้องมาที่เราเป็นคาถามเชิงเหตุผลว่าเหตุใดลูกค้าถึงได้เข้ามาซื้อสินค้าจากเราอาจเป็นเงื่อนไขในเรื่องของราคาที่ถูกกว่าคู่แข่งหรือสินค้ามีคุณภาพมากกว่าความสะดวกสบายบริการหลังการขายที่ดีกว่า
How(อย่างไร)เราสามารถเข้าถึงลูกค้าได้อย่างไรเป็นคาถามเชิงวิธีการหรือหนทางในการรักษาฐานลูกค้าเก่าหรือเพิ่มยอดขายจากลูกค้ารายใหม่ซึ่งควรจะมีการวางแผนและกาหนดวิธีการที่จะเข้าถึงลูกค้าได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพมากที่สุด

ขั้น 3 วางแผนงบประมาณ มีเงินเท่าไร จะใช้เท่าไร
เป็นการประเมินถึงจานวนเงินเพื่อใช้ในการทางานว่ามีเท่าใดซึ่งถือเป็นค่าใช้จ่ายทางบัญชีที่เจ้าของธุรกิจต้องทราบว่าจะดาเนินธุรกิจให้ได้ตามแผนต้องใช้เงินลงทุนแต่ละส่วนเป็นเงินเท่าใดและได้มาจากแหล่งใดหลักในการทางบฯมีด้วยกันหลายวิธีเช่น
#ทางบประมาณตามสัดส่วนจากการขาย
#ทางบประมาณตามสภาพตลาด
#ทางบประมาณตามวัตถุประสงค์
#ทางบประมาณตามเงินทุน

ขั้น 4กาหนดแนวความคิดและรูปแบบ หาจุดขาย ลูกเล่น
เป็นการสร้างแนวความคิดที่แปลกใหม่น่าสนใจให้กับเว็บไซต์โดยเป็นการสร้างจุดเด่นหรือจุดที่แตกต่างกับเว็บอื่นๆทาให้เกิดเอกลักษณ์ของเว็บไซต์เราซึ่งเป็นปัจจัยที่ทาให้ผู้เยี่ยมชมจดจาเว็บไซต์ได้อาจจะเป็นรูปแบบการบริการที่ไม่เหมือนใครการใช้ลักษณะการออกแบบเว็บที่โดดเด่นหรือเนื้อหาในเว็บทาให้ผู้อ่านสนใจแต่ทั้งนี้ทั้งนั้นต้องยืนอยู่บนเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่เราตั้งใจไว้เป็นสาคัญ

ขั้น 5 การวางแผนกลยุทธ์ และสื่อ ช่วงเวลา
เป็นการเลือกสรรวิธีหรือกลยุทธ์ที่ใช้สาหรับการทาการตลาดออนไลน์ว่าควรเลือกใช้สื่อรูปแบบใดดีโดยดูที่วัตถุประสงค์เป็นหลักเช่นการโฆษณาผ่านหน้าเว็บในรูปแบบต่างๆ,การตลาดผ่านระบบค้นหา,การตลาดผ่านอีเมล์,การตลาดผ่านเว็บบล็อก

ขั้น 6 การดาเนินการตามแผนที่ได้วางไว้
เทคนิคการเตรียมตัวก่อนการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ดังนี้
I.เช็คว่าพร้อมหรือยัง?ด้วยกลยุทธ์6C
II.มีเอกลักษณ์หรือจุดเด่นของเว็บไซต์เช่นแนวความคิดพื้นฐานของตัวเว็บไซต์ที่โดดเด่นมีความสอดคล้องกับตราสินค้าหรือบริการหลักของธุรกิจการออกแบบเว็บไซต์เช่นสีสันโลโก้การวางรูปแบบและเนื้อหามีความเป็นเอกลักษณ์
III.การสร้างช่องทางการเก็บข้อมูลผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์เช่นการลงทะเบียนสมาชิกแบบสอบถามออนไลน์บริการการรับข่าวสารทางอีเมล์เป็นต้น

ขั้น 7 วัดผลและประเมินผลลัพธ์
เป็นวิธีการวัดผลความสาเร็จจากการทาแผนการตลาดว่ามีผลลัพธ์เช่นไรการดาเนินการทางการตลาดประสบความสาเร็จตามที่กาหนดมากน้อยเพียงใดโดยประเมินจากการเติบโตของยอดขายส่วนแบ่งทางการตลาดภาพลักษณ์ที่ลูกค้ามีต่อสินค้าหรือบริการกาไรฯลฯเพื่อเป็นข้อมูลสาคัญในการตัดสินใจการดาเนินตามแผนธุรกิจต่อไป

C ontent(ข้อมูล)

ข้อมูลใหม่สดเสมอ
ข้อมูลมีความถูกต้อง
อ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูล
รูปแบบของการหาข้อมูลมาไว้ในเว็บไซต์มี 3 รูปแบบใหญ่ๆ ได้แก่
ทางผู้จัดทาเว็บไซต์เป็นคนผลิตข้อมูลขึ้นมา (Self Feeding)
ข้อมูลมากจากผู้เข้ามาใช้บริการ (User Feeding)
ข้อมูลมากจากพันธมิตร (Partner Content)

C ommunity(ชุมชน,สังคม)
Community คือ การรวมตัวของกลุ่มคนจานวนหนึ่ง ที่อยู่ร่วมกันภายใต้สถานๆ หนึ่ง โดยมการพูดคุย หรือกิจกรรมร่วมกันภายในสถานที่แห่งนั้น
องค์ประกอบในการสร้าง Community ในเว็บไซต์ของคุณ
1.เว็บบอร์ด (WebBoard)
2. พิ๊กโพสต์(Pic Post)
3. ไดอารี่ หรือ บล็อก (Diary or Blog)
4. ข่าว (News) + Web Board
5. รวมลิงค์ เว็บไซต์
6. ห้องแช๊ตรูม(ChatRoom)

C ommerce(การค้าขาย)
การหาสินค้ามาขายผ่านหน้าเว็บ
การซื้อสินค้ามาเก็บไว้
การนาสินค้าจากแคตตาล๊อกมาขาย (จับเสือมือเปล่า)
การนาสินค้าจากพันธมิตรมาขายwww.thaisecondhand.com/promotion
Commerce หรือ การทาการค้าขายผ่านเว็บไซต์ ซึ่งสามารถสร้างรายได้ให้กับเว็บไซต์ได้ เช่นเว็บข้อมูล (Content), เว็บโปรแกรมมิ่ง, เว็บ Community, หรือเว็บโป๊ก็สามารถทา E-Commerce


C ustomization(การปรับให้เหมาะสม)
C -Customizationคือ รูปแบบการให้บริการที่สามารถปรับแต่งการใช้งานให้มีความเหมาะสมกับ ผู้ใช้บริการภาย ในเว็บไซต์
•การปรับแต่งข้อมูลเพื่อการบริการ (Service)http://my.MSN.com
•การปรับแต่งสินค้าเพื่อการค้า (Commerce)www.Nike.com
•การเก็บข้อมูลของลูกค้าเพื่อการนาเสนอข้อมูล (Information) www.Amazon.com

C ommunication, Channel (การสื่อสารและช่องทาง)
Communication คือ ช่องทางในการสื่อสารและติดต่อกับผู้ใช้บริการในเว็บไซต์ของคุณ จริงๆ แล้วสิ่งที่คุณมีอยู่ในเว็บไซต์คุณคือ ข้อมูล (Content) หรือ บริการ (Service) ซึ่งเป็นเพียงแค่ “ช่องทาง” ในการ “เข้าถึง” ข้อมูลหรือบริการเหล่านั้น

C onvenience(สะดวกสบาย)
การใช้งานง่าย (Usability)1."ดู" ง่าย
•การวางรูปแบบ (Layout)
•รูปภาพ และไอค่อน ( Image & Icon)
•ขนาดตัวอักษร (Font) และการจัดหน้า
•การออกแบบระบบนาทางที่ดี (Navigation)
•มีSite map ในเว็บ
2."เรียนรู้" ได้ง่าย (easy to learn)
3. "จดจา" วิธีการใช้งานได้ง่าย
4."เข้าถึง" ได้ง่าย
5.ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ (efficient to use)
6.การเจอปัญหาและการแก้ไข (Help & FAQ)













CHAPTER 4 E-COMMERCE

CHAPTER 3 E-COMMERCE

▪ความหมายของธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
▪กรอบการทำงานและโครงสร้างพื้นฐานของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
▪การประยุกต์ใช้การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
▪การสนับสนุนและการจัดการการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
▪ประเภทของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
▪ข้อแตกต่างระหว่างการทำธุรกิจทั่วไปกับการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
▪ข้อดีและข้อเสียของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (ELECTRONIC BUSINESS)

ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Business)
คือกระบวนการดำเนินธุรกิจโดยอาศัยเทคโนโลยีเครือข่ายที่เรียกว่าองค์การ
เครือข่ายร่วม (Internetworked Network) ไ ม่ว่าจะเป็นการพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce) การติดต่อสื่อสารและการทำงาน

ร่วมกัน หรือแม้แต่ระบบธุรกิจภายในองค์กร

การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (ELECTRONIC COMMERCE)

▪พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ การดำเนินธุรกิจ โดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
(ECRC Thailand,1999)
!
▪พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ การผลิต การกระจาย การตลาด การขาย
หรือการขนส่งผลิตภัณฑ์ และบริการโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (WTO,1998)

▪พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ ขบวนการที่ใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อทำ
ธุรกิจที่จะบรรลุเป้าหมายขององค์กร พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ใช้เทคโนโลยี
ประเภทต่าง ๆ และครอบคลุมรูปแบบทางการเงินทั้งหลาย เช่น ธนาคาร
อิเล็กทรอนิกส์, การค้าอิเล็กทรอนิกส์, อีดีไอหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์, ไ ปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์, โ ทรสาร, คะตะล๊อกอิเล็กทรอนิกส์,
การประชุมทางไกล และรูปแบบต่าง ๆ ที่เป็นข้อมูลระหว่างองค์กร (ESCAP,

1998)

▪พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือ ธุรกรรมทุกรูปแบบที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมเชิง
พาณิชย์ ทั้งในระดับองค์กร และส่วนบุคคล บนพื้นฐานของการประมวล และ

การส่งข้อมูลดิจิทัล ที่มีทั้งข้อความ เสียง และภาพ (OECD,1997)


▪สรุป
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic commerce) คือ การทำธุรกรรมผ่านสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ ใ นทุกช่องทางที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การซื้อขายสินค้าและ
บริการ การโฆษณาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไ ม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ โ ทรทัศน์ วิทยุ
หรือแม้แต่อินเทอร์เน็ต เป็นต้น โ ดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดค่าใช้จ่าย และเพิ่ม
ประสิทธิภาพขององค์กร โ ดยการลดบทบาทองค์ประกอบทางธุรกิจลง เช่น
ทำเลที่ตั้ง อาคารประกอบการ โกดังเก็บสินค้า ห้องแสดงสินค้า รวมถึงพนักงาน
ขาย พนักงานแนะนำสินค้า พนักงานต้อนรับลูกค้า เป็นต้น จึงลดข้อจำกัดของ

ระยะทาง และเวลาลงได้


การประยุกต์ใช้ (E-commerce Application)

❖ การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (E-Retailing)
❖ การประมูลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Auctions)
❖ การบริการอิเล็กทรอนิกส์ (E-Service)
❖ รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government)
❖ การพาณิชย์ผ่านระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ (M-Commerce : Mobile Commerce)

โครงสร้างพื้นฐาน (E-Commerce Infrastructure)

❖ องค์ประกอบหลักสำคัญด้านเทคโนโลยีพื้นฐาน ที่จะนำมาใช้เพื่อการพัฒนาระบบ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยแบ่งออกเป็น 4 ส่วนได้แก่
❖ระบบเครือข่าย (Network)
❖ช่องทางการติดต่อสื่อสาร (Chanel Of Communication)
❖การจัดรูปแบบและการเผยแพร่เนื้อหา (Format & Content Publishing)

❖การรักษาความปลอดภัย (Security)


การสนับสนุน (E-Commerce Supporting)
ส่วนของการสนับสนุนจะทำหน้าที่ช่วยเหลือและสนับสนุนส่วยของการประยุกต์
ใช้งานให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เปรียบเสมือนเสาหลักของบ้าน ที่ทำ
หน้าที่ค้ำจุนให้หลังคาบ้านอย่างไรก็ตามเสาบ้านก็ต้องอาศัยพื้นบาน ใ นส่วนของ
โครงสร้างพื้นฐาน เพื่อที่จะยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคงต่อไป สำหรับส่วนสนับสนุน

ของ E-Commerce มีองค์ประกอบ 5 ส่วนด้วยกันดังต่อไปนี้

1. การพัฒนาระบบงาน E-Commerce Application Development
2. การวางแผนกลยุทธ์ E-Commerce Strategy
3. กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce Law
4. การจดทะเบียนโดเมนเนม Domain Name Registration

5. การโปรโมทเว็บไซต์ Website Promotion








ประเภทของ E-Commerce
กลุ่มธุรกิจที่ค้ากำไร (Profits Organization)
1. Business-to-Business (B2B)
2. Business-to-Customer (B2C)
3. Business-to-Business-to-Customer (B2B2C)
4. Customer-to-Customer (C2C)
5. Customer-to-Business (C2B)

6. Mobile Commerce

กลุ่มธุรกิจที่ไม่ค้ากำไร (Non-Profit Organization)
1. Intrabusiness (Organization) E-Commerce
2. Business-to-Employee (B2E)
3. Government-to-Citizen (G2C)
4. Collaborative Commerce (C-Commerce)
5. Exchange-to-Exchange (E2E)

6. E-Learning

E-Commerce Business Model

ธุรกิจที่หารายได้จากค่าสมาชิก
ตัวอย่างของธุรกิจที่หารายได้จากค่าสมาชิกในการศึกษาได้แก่ AOL (ธุรกิจ ISP), Wall Street Journal
(หนังสือพิมพ์), JobsDB.com (ข้อมูลตลาดงาน), และ Business Online (ข้อมูลบริษัท) ธุรกิจในกลุ่มนี้หลายราย
เป็นธุรกิจที่ได้กำไรแล้วเนื่องจากรายได้จากค่าสมาชิกเป็นรายได้ที่มีความมั่นคงกว่ารายได้จากแหล่งอื่นเช่น รายได้จาก
การโฆษณา หรือค่านายหน้า อย่างไรก็ตาม ปัจจัยในความสำเร็จของธุรกิจที่จะสามารถหารายได้จากค่าสมาชิกได้ก็คือ
การมีสารสนเทศหรือบริการที่มีคุณภาพที่ดี พอที่จะทำให้ลูกค้ายอมจ่ายค่าสมาชิกดังกล่าว เช่น ต้องมีสารสนเทศที่แตก
ต่างจากผู้ประกอบการรายอื่น (Wall Street Journal หรือ Business Online) หรือใช้กลยุทธ์ทางการตลาดในการ
รักษาฐานลูกค้าไว้ เช่น AOL รักษาฐานลูกค้าของตนด้วยหมายเลขอีเมล์หรือหมายเลข ICQ ซึ่งลูกค้าที่ใช้บริการไปแล้ว
ระยะหนึ่งไม่ต้องการเปลี่ยนแปลง ธุรกิจที่มีรายได้จากสมาชิกยังสามารถใช้ฐานลูกค้าของตนที่มีอยู่ขยายต่อ ไปยังธุรกิจ

ต่อเนื่องอื่นๆ เช่น AOL ใช้ฐานสมาชิกของตนในการหารายได้จากการโฆษณาออนไลน์ และธุรกิจค้าปลีก

ธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน
ธุรกิจโครงสร้างพื้นฐานเป็นธุรกิจ E-Commerce ที่ให้บริการแก่ธุรกิจ E-Commerce อื่น ตัวอย่าง
ของธุรกิจพื้นฐานในการศึกษา ได้แก่ Consonus (ธุรกิจศูนย์ข้อมูล และ ASP), Pay Pal (ธุรกิจชำระ
เงินออนไลน์), Verisign (ธุรกิจออกใบรับรองดิจิตัล), BBBOnline (ธุรกิจรับรองการประกอบธุรกิจที่
ได้มาตรฐาน), Siamguru (บริการเสิร์ชเอนจิ้น), และ FedEx (บริการจัดส่งพัสดุ) ปัจจัยในความ
สำเร็จของธุรกิจในกลุ่มนี้จะขึ้นอยู่กับการขยายตัวของตลาด E-Commerce โ ดยรวม กล่าวคือ หาก

เศรษฐกิจ อยู่ในช่วงขยายตัว และมีผู้ประกอบการ E-Commerce

รกิจค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์
ธุรกิจค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์เป็นรูปแบบของธุรกิจ E-Commerce ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีที่สุด เมื่อกล่าวถึงธุรกิจ E-Commerce คน
ทั่วไป จึงมักจะนึกถึงธุรกิจในกลุ่มนี้ ตัวอย่างของธุรกิจค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (Online Retailer) ใ นกรณีศึกษาได้แก่
Amazon (หนังสือ), 7dream (ของชำ), EthioGift (ของขวัญวันเทศกาลของเอธิโอเปีย), 1-800-Flowers (ดอกไม้),
Webvan (ของชำ), Tony Stone Image (รูปภาพ), และ Thaigem (อัญมณี) รายได้หลักของธุรกิจค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์มา
จากการจำหน่ายสินค้า ใ นช่วงแรกผู้ประกอบธุรกิจค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ มักคาดหวังว่า การประกอบการโดยไม่ต้องมีร้านค้า

ทางกายภาพจะช่วยให้ตนมีต้นทุนที่ต่ำ และสามารถขายสินค้าให้แก่ ลูกค้าในราคาที่ต่ำกว่าคู่แข่งได้


ธุรกิจที่หารายได้จากโฆษณา
ในช่วงหลังธุรกิจ E-Commerce ที่หวังหารายได้จากการโฆษณาซบเซาลงไปมาก เนื่องจากการเข้าสู่ตลาดดังกล่าว
ทำได้ง่าย ทำให้จำนวนพื้นที่โฆษณาเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลทำให้เกิดการแข่งขันอย่างรุนแรง และมีผลกระทบ
ต่อรายได้ของผู้ประกอบการแทบทุกราย นอกจากนี้ การจัดทำเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาดึงดูดให้ผู้ใช้เข้ามาใช้ต้องอาศัยการ
ลงทุนสูง และจำเป็นต้องทำการตลาดและการประชาสัมพันธ์ผ่าน สื่อต่างๆมาก ปัจจัยในความสำเร็จของธุรกิจใน

กลุ่มนี้จึงได้แก่การสร้างจุดเด่นที่แตกต่างจากธุรกิจในแนวเดียวกัน ใ นขณะที่สามารถควบคุมต้นทุนได้


บริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
ตัวอย่างของบริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) ใ นกรณีศึกษา ไ ด้แก่ MERX (การให้ข้อมูลการ
ประกวดราคาของโครงการรัฐ), Buyers.Gov (การจัดซื้อจัดจ้างของรัฐ) และ eCitizen (การให้บริการของรัฐแก่
ประชาชน) บริการในกลุ่มนี้มักมีจุดประสงค์เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนและธุรกิจในการติดต่อกับภาค
รัฐ (eCitizen) เพิ่มความโปร่งใสในการดำเนินงาน (MERX) เพิ่มประสิทธิภาพ และลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ

ของภาครัฐ (Buyers.Gov) เป็นต้น

ธุรกิจตลาดประมูลออนไลน์
ธุรกิจในกลุ่มนี้มีรูปแบบการหารายได้ทั้งในแบบ B2C ซึ่งหารายได้จากการจำหน่ายสินค้าส่วนเกินของบริษัทโดยไม่
เกิดความขัดแย้งกับช่องทางเดิม นอกจากนี้ตลาดประมูลออนไลน์ยังช่วยให้ธุรกิจสามารถหาราคาที่เหมาะสมของ
สินค้า ตัวอย่างของธุรกิจตลาดประมูลออนไลน์ แบบ B2C ใ นกรณีศึกษาได้แก่ Egghead (สินค้าอิเล็กทรอนิกส์)
และ Priceline (สินค้าท่องเที่ยว) เป็นต้น รูปแบบธุรกิจตลาดประมูลออนไลน์อีกประเภทหนึ่งคือแบบ C2C ธุรกิจ
ในกลุ่มนี้จะหารายได้จากค่านายหน้าในการให้บริการตลาดประมูลซึ่งช่วยจับคู่ผู้ซื้อและผู้ขายเข้าด้วยกัน ตัวอย่าง

ของธุรกิจตลาดประมูลดังกล่าวนี้คือ Ebay

ธุรกิจตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์
ตัวอย่างของธุรกิจตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ (E-Marketplace) ใ นกรณีศึกษาได้แก่ PaperExchange (กระดาษ),
FoodMarketExchange (อาหาร), DoubleClick (แบนเนอร์ในอินเทอร์เน็ต), Half.com (สินค้าใช้แล้ว), และ
Translogistica (ขนส่งทางบก) ธุรกิจในกลุ่มนี้จะหารายได้จากค่านายหน้าในการให้บริการตลาดกลางซึ่งช่วยจับคู่
ผู้ซื้อและผู้ขายเข้าด้วยกัน ในช่วงแรกธุรกิจตลาดกลางมักดำเนินการโดยผู้บริหารตลาดที่เป็นอิสระจากผู้ซื้อหรือผู้
ขาย (Independent Market Maker) อย่างไรก็ตามต่อมาพบว่า ผู้บริหารตลาดอิสระมักไม่สามารถชักชวนผู้ซื้อ
หรือผู้ขายให้เข้าร่วมในตลาดจนมีจำนวนที่มากพอได้


ข้อดีและข้อเสียของ E-Commerce

1.สามารถเปิดดำเนินการได้ตลอด 24 ชั่วโมง
2.สามารถดำเนินการค้าขายได้อย่างอิสระทั่วโลก
3.ใช้ต้นทุนในการลงทุนต่ำ
4.ไม่ต้องเสียค่าเดินทางในระหว่างการดำเนินการ
5.ง่ายต่อการประชาสัมพันธ์ และยังสามารถประชาสัมพันธ์ในครั้งเดียวแต่ไปได้ทั่วโลก
6.สามารถเข้าถึงลูกค้าที่ใช้บริการอินเทอร์เนตได้ง่าย
7.ประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาสำหรับผู้ซื้อและผู้ขาย
8.ไม่จำเป็นต้องเปิดเป็นร้านขายสินค้าจริงๆ


ข้อเสีย
1.ต้องมีระบบการรักษาความปลอดภัยของระบบที่มีประสิทธิภาพ
2.ไม่สามารถเข้าถึงลูกค้าที่ไม่ได้ใช้บริการอินเทอร์เนตได้
3.ขาดความเชื่อมั่นในเรื่องการชำระเงินผ่านทางบัตรเครดิต
4.ขาดกฎหมายรองรับในเรื่องการดำเนินการธุรกิจขายสินค้าแบบออนไลน์
5.การดำเนินการทางด้านภาษียังไม่ชัดเจน






Chapter 3 E-business strategy

Chapter 3

            E-business strategy

What is strategy?
• Defines how we will meet our objectives.
• Sets allocation of resources to meet goals.
• Selects preferred strategic options to compete within a market.
• Provides a long-term plan for the development of the

organization.

What is e-Business strategy?
Strategy defines the future direction and actions of an organization or part of an organization. Johnson and Scholes (2006) define corporate strategy as: ◦ the direction and scope of an organization over the long-term: which achieves advantage for the organization through its configuration of resources
within a changing environment to meet the needs of markets and to fulfil stakeholder expectations.

What is e-Business strategy?
E-business strategy : Definition of the approach by which applications of internal and external electronic communications can support and influence corporate strategy.

Relationship between e-business strategy and other strategies





A genericstrategy process model






Dynamic e-business strategy model




Elements of strategic situation analysis for the e-business


Elements of strategic objective setting for the e-business


Elements of strategy definition for the e-business

Elements of strategy implementation for the e-business